Previous Page  9 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 9 / 62 Next Page
Page Background

9

ปีที่ 43 ฉบับที่ 195 กรกฎาคม - สิงหาคม 2558

นิตยสาร สสวท.

หลังจากที่ผู้เรียนได้อภิปรายเพื่อตอบค�

ำถามแล้ว ผู้สอนสุ่ม

กลุ่มของผู้เรียน 2 – 3 กลุ่ม ส�

ำหรับการให้น�

ำเสนอผล

การอภิปรายของกลุ่มและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนในชั้นเรียน

จากนั้น ผู้สอนน�

ำผู้เรียนอภิปรายร่วมกันเพื่อสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้

จากกิจกรรมที่ 3.2 (10 นาที) ซึ่งควรสรุปได้ว่า การที่แสงเลเซอร์

มีลักษณะดังภาพที่ 13 เนื่องจากแสงเลเซอร์มีการเลี้ยวเบน

ผ่านเกลียวของสปริงก่อนจะมีการแทรกสอดกันที่บริเวณฉาก

ท�

ำให้เกิดภาพดังลักษณะที่ปรากฏ ซึ่งเมื่อพิจารณาแล้ว

การเลี้ยวเบนของแสงเลเซอร์ผ่านเกลียวสปริงมีลักษณะเหมือน

กับการเลี้ยวเบนผ่านเส้นลวด 2 เส้นที่วางพาดกันในลักษณะ

ของตัวอักษร X ดังนั้น ภาพของแสงเลเซอร์ที่ปรากฏบนฉาก

จึงมีลักษณะเป็ นแนวยาวของแถบมืดสลับกับแถบสว่ าง

พาดกันในลักษณะตัวอักษร X โดยที่ตรงกลางมีความสว่าง

และมีความยาวมากที่สุด

ส�

ำหรับค�

ำตอบของค�

ำถามที่ว่า “จากภาพที่ปรากฏบนฉาก

ช่วยให้เราทราบข้อมูลอะไรบ้างเกี่ยวกับสปริง” ผู้เรียนอาจตอบว่า

สามารถหาขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางของลวดสปริงได้

ซึ่งเป็นค�

ำตอบที่ถูกต้องและเพียงพอส�

ำหรับความรู้พื้นฐาน

ในระดับมัธยมปลาย แต่ทั้งนี้ ผู้สอนอาจให้ความรู้เพิ่มเติมว่า

จากลักษณะของแสงเลเซอร์ที่คล้ายกับภาพ51 ผู้เรียนยังสามารถ

หาระยะห่างระหว่างเกลียวของสปริงที่อยู่ติดกับรัศมีของเกลียว

และมุมที่เกลียวของสปริงท�

ำกับแนวระนาบได้อีกด้วย ซึ่งเป็น

ข้อมูลทางกายภาพของ DNA ที่นักวิทยาศาสตร์หาได้จากภาพ51

แต่การที่ผู้เรียนจะวิเคราะห์เพื่อหาปริมาณดังกล่าว อาจต้องใช้เวลา

เพราะเป็นการวิเคราะห์ที่ซับซ้อน และจ�

ำเป็นต้องใช้ความรู้

ที่มากกว่าความรู้ในระดับมัธยมปลาย

ในช่วงท้ายของการท�

ำกิจกรรม ผู้สอนอาจกระตุ้น

ความอยากรู้อยากเห็นของผู้เรียน โดยเสนอแนะให้ผู้เรียนใช้เวลาว่าง

ในการลองน�

ำวัสดุที่มีลักษณะอื่น ๆ มาให้แสงเลเซอร์ส่องผ่าน

แล้ วให้ ท�

ำนายลักษณะการแทรกสอดของแสง เลเซอร์

ที่จะปรากฏบนฉาก และวิเคราะห์ว่า จะสามารถทราบข้อมูล

อะไรได้บ้างจากภาพที่เกิดขึ้น นอกจากนี้ ผู้สอนอาจให้ความรู้

เพิ่มเติมเกี่ยวกับการน�

ำแสงเลเซอร์มาใช้ประโยชน์ในด้านอื่น ๆ

(5 นาที) เช่น การสื่อสาร การแพทย์ ศิลปะ อุตสาหกรรม

เพื่อเป็นการเชื่อมโยงสู่การน�

ำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ

และสร้ างแรงบันดาลใจให้กับผู้ เรียนในการศึกษาค้นคว้ า

ในระดับสูงต่อไป

ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับชุดกิจกรรมสืบเสาะหาความรู้เรื่อง

แสงเลเซอร์ ทั้ง 3 ตอน สามารถดาวน์โหลดแผนการจัดการเรียนรู้

และใบกิจกรรมได้ที่เว็บไซต์สาขาฟิสิกส์ สสวท. ตามที่อยู่

http://physics.ipst.ac.th

โดยเลือกที่หัวข้อ “การจัดการเรียน

การสอน” จากนั้นเลือก “แผนการสอน” และ เลือกหัวข้อย่อย

ที่เมนูด้านซ้ายมือ “ฟิสิกส์อะตอมและฟิสิกส์นิวเคลียร์”

Doss, H., Lee, E. and Plisch, M. (2010).

The Physics of Lasers: Inquiry Lessons

for High School Physics Studetns (Student Edition).

College

Park, MD: American Physical Society.

Doss, H., Lee, E. and Plisch, M. (2010).

The Physics of Lasers: Inquiry Lessons

for High School Physics Studetns (Teacher Edition).

College

Park, MD: American Physical Society.

บรรณานุกรมี

ที่ ั

บี่ ิ