

11
ปีที่ 43 ฉบับที่ 194 พฤษภาคม - มิถุนายน 2558
ปีที่ 43 ฉบับที่ 195 กรกฎ สิงห คม
กลับมาที่เราจะช่วยให้คนเมืองจินตนาการถึงดวงดาวที่
มากมายบนท้องฟ้าได้อย่างไร คุณผู้อ่านเห็นตรงที่ขีดเส้น
ใต้ไว้ไหม “สังเกตการณ์ดวงดาวบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่า”
นี่แหละคือวิธีง่าย ๆ ที่จะสามารถช่วยให้เราหรือคนเมือง
เหล่านั้นรู้ ได้ว่า แท้จริงแล้วบนท้องฟ้าที่เรามองเห็นนั้นมี
ดาว (ประมาณ) กี่ดวง นั่นก็คือ เราจะใช้ “ตาเปล่า” กับ
อุปกรณ์ที่ประดิษฐ์เองได้ง่าย ๆ ดังนี้
1. น�
ำกระดาษแข็งขนาด 25 cm X 25 cm มาเจาะช่อง
ตรงกลางออกให้มีขนาดประมาณ 15 cm X 15 cm ช่องว่าง
ที่คล้ายหน้าต่างนี้จะใช้เป็นช่องส�
ำหรับส่องเพื่อนับดาว
2. วัดความยาวจากปลายแผ่ นไม้ เข้ ามาเป็ นระยะ
1 0 cm แ ล้ ว ขี ด เ ส้ น เ พื่อท�
ำ เ ค รื่ อ ง หม า ย ต�
ำ แ หน่ ง
ดังกล่าวลงบนแผ่นไม้
3. ง้างปลายลวดหนีบกระดาษด้านหนึ่งให้เปิดออก และ
งอลวดหนีบกระดาษให้เป็นมุมฉาก (90 องศา) ใช้เทปกาว
ปิดทับปลายลวดด้านหนึ่งเข้ากับแผ่นไม้ที่ระยะ 10 cm
และปิดเทปกาวกับปลายลวดอีกด้านหนึ่งเข้ากับกระดาษแข็ง
จะได้อุปกรณ์ส�
ำหรับส่องเพื่อนับดาวดังรูปที่ 2
4 . น�
ำอุปกรณ์ ที่ประดิษฐ์ ได้ ไปใช้ สัง เกตดาว โดย
พยายามเลือกบริเวณที่ไม่มีแสงไฟจากถนนหรือบ้านเรือน
รบกวน เมื่อปรับสายตาให้ชินกับความมืดแล้ว ให้ถือปลายไม้
ชิดกับดวงตาข้ างหนึ่งแล้ วสังเกตดาวผ่ านช่องหน้ าต่ างที่
เจาะไว้ นับดวงดาวที่สังเกตได้ภายในช่องหน้าต่าง บันทึก
ไว้
5. เลือกบริเวณที่จะนับดาวบริเวณอื่นอีก 2 แห่ง ท�
ำเช่น
เดียวกับข้อ 4. แล้วบันทึกจ�
ำนวนดาวที่สังเกตได้ ซึ่งท่าน
จะได้ข้อมูลจ�
ำนวนดาวรวมทั้งหมด 3 บริเวณ
6. น�
ำค่าของจ�
ำนวนดาวที่บันทึกได้ทั้ง 3 แห่งมาหา
ค่าเฉลี่ย แล้วน�
ำค่าเฉลี่ยมาคูณด้วย 70* ก็จะได้จ�
ำนวน
ของดวงดาวโดยประมาณที่เราสามารถมองเห็นบนท้องฟ้าได้ใน
ยามค�่
ำคืน
พื้นที่ทั้งหมดบนท้ องฟ้ า รอบตัว เร ามีลักษณะ เ ป็ น
ทรงกลม เมื่อเราใช้อุปกรณ์ส�
ำหรับส่องเพื่อนับดาว (ตามรูปที่ 2)
นั่นหมายถึง เราส่ องดูแค่ ส่ วนหนึ่งของทรงกลมเท่ านั้น
ดังรูปที่ 3
1. กระดาษแข็ง ขนาด 25 cm X 25 cm
2. แผ่นไม้ ขนาด 4 cm X 60 cm
3. ไม้บรรทัด
4. กรรไกร
5. ลวดหนีบกระดาษ
6. เทปกาว
อุปกรณ์
วิธีท�
ำ
รูปที่ 2 อุปกรณ์ส�
ำหรับส่องเพื่อนับดาว
รูปที่ 3 พื้นที่ทรงกลมฟ้ากับพื้นที่อุปกรณ์ส่องดาว
*
ตัวเลข 70 มาจากไหน