Previous Page  16 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 16 / 62 Next Page
Page Background

นิตยสาร สสวท.

16

ดวงจันทร์ ปรากฏร่ วมทิศกับดาวเคราะห์อยู่ เป็น

ประจ�

ำเดือนละ 1 ครั้ง ทั้งนี้เพราะดวงจันทร์เคลื่อนที่รอบโลก

รอบละ 1 เดือน ท�

ำให้เห็นดวงจันทร์เลื่อนไปทางตะวันออก

ตามเส้นทางที่ดาวเคราะห์ปรากฏอยู่ เมื่อดวงจันทร์เคลื่อนที่ไปทัน

ดาวศุกร์ก็เรียกว่า ดวงจันทร์ร่วมทิศกับดาวศุกร์

ส�

ำหรับดาวเคราะห์ดวงที่เคลื่อนที่เร็ว เช่น ดาวศุกร์ และ

ดาวพุธ มีโอกาสไปทันดาวเคราะห์ที่เคลื่อนที่ช้ากว่าดังเช่น

ดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร์

ดาวชุมนุม

เป็นปรากฏการณ์ที่เห็นดาวอยู่ใกล้กันหลายดวง ดาวร่วมทิศ

หมายถึงดาวสองดวงที่ปรากฏอยู่ไปทางเดียวกัน เช่น เห็นดาวศุกร์ปรากฏอยู่ไปทาง

เดียวกันกับดาวพฤหัสบดี เรียกว่า ดาวศุกร์ร่วมทิศกับดาวพฤหัสบดี ดาวศุกร์

ปรากฏอยู่ไปทางเดียวกับดวงอาทิตย์เรียกว่า ดาวศุกร์อยู่ในต�

ำแหน่งร่วมทิศแนววงใน

(ดาวศุกร์อยู่ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์) และร่วมทิศแนววงนอก เมื่อดวงอาทิตย์

อยู่ระหว่างดาวศุกร์กับโลก เมื่อดาวร่วมทิศกับดวงอาทิตย์เราจะสังเกตดาวดวง

นั้นไม่ได้ เพราะความสว่างจ้าของดวงอาทิตย์

ดาวชุมนุมกับดาวร่วมทิศ

(Conjunction)

นิพนธ์ ทรายเพชร

ราชบัณฑิต สาขาวิชาดาราศาสตร์ / ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ สสวท.