Previous Page  21 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 21 / 62 Next Page
Page Background

21

ปีที่ 43 ฉบับที่ 195 กรกฎาคม - สิงหาคม 2558

จะเห็นว่า

หลอดไฟฟ้าทั้ง 2 หลอดต่างก็ใช้พลังงานไฟฟ้าไป โดยหลอดที่ 2 ใช้พลังงานไฟฟ้าไปมากกว่า

หลอดไฟฟ้าหลอดที่ 1

และจากการสังเกตสิ่งต่าง ๆ อย่างอื่นเพิ่มเติมก็จะพบว่า

แสงสว่างจากหลอดที่ 2 สว่างมากกว่า

แสงสว่างจากหลอดที่ 1

และเมื่อใช้มืออังใกล้ ๆ หลอดไฟฟ้าก็จะพบว่า ความร้อนจากหลอดที่ 2 มากกว่าความร้อนจาก

หลอดที่ 1 นั่นคือเราพิจารณาจากการค�

ำนวณและผลจากการสังเกตสอดคล้องกันดังนี้

ล�

ำดับ ชนิดของเครื่องใช้ไฟฟ้า

ก�

ำลังไฟฟ้า

(W)

จ�

ำนวน

เครื่องใช้ไฟฟ้า

จ�

ำนวนเวลาที่ใช้ใน 1 วัน

(ชั่วโมง)

1

2

3

4

5

6

หลอดไฟฟ้า (หลอดไส้)

หลอดฟลูออเรสเซนซ์

หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนซ์

พัดลม

เครื่องรับโทรทัศน์

เตารีดไฟฟ้า

25

36

13

68

63

1000

2 หลอด

2 หลอด

3 หลอด

2 เครื่อง

1 เครื่อง

1 เครื่อง

3

5

5

4

4

2

พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ = ก�

ำลังไฟฟ้า x เวลาที่ใช้

และเมื่อใช้หน่วยกับความสัมพันธ์ดังกล่าว เป็นดังนี้

พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ (

หน่วย

หรือ

ยูนิต

) = ก�

ำลังไฟฟ้า (

กิโลวัตต์

) x เวลาที่ใช้ (

ชั่วโมง

)

ดังนั้น ถ้าถามว่า พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ไปจะมีค่ามากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับปริมาณอะไรบ้าง เราก็คงจะตอบได้ว่า

ขึ้นอยู่กับทั้ง

ก�

ำลังไฟฟ้า

และ

จ�

ำนวนเวลาที่ใช้

ถ้าในบ้านเรามีเครื่องใช้ไฟฟ้าหลายชนิด เช่น มีหลอดไฟฟ้า พัดลม เครื่องรับโทรทัศน์ วิทยุ เตารีดไฟฟ้า

จากการส�

ำรวจเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดพบว่า เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดมีค่าก�

ำลังไฟฟ้าต่างกัน และจ�

ำนวนเวลาที่ใช้

เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดนานไม่เท่ากัน ดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 แสดงข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้ในบ้าน

ก�

ำลังไฟฟ้า (W) = พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ (J) / เวลาที่ใช้ (s)

นั่นคือ พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ = ก�

ำลังไฟฟ้า x เวลาที่ใช้

ดังนั้น หลอดไฟฟ้าหลอดที่ 1 ;

พลังงานไฟฟ้าหลอดที่ 1 ใช้ = 40 (W) x 3(60x60)(s)

= 432 x 10 จูล

พลังงานไฟฟ้าหลอดที่ 2 ใช้ = 100 (W) x 3(60x60)(s)

= 1080 x 10 จูล

เราทราบกันแล้วว่า

จากความสัมพันธ์

3

3