Previous Page  18 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 18 / 62 Next Page
Page Background

นิตยสาร สสวท.

18

2. ในปี พ.ศ. 2558 ดาวศุกร์จะอยู่ ณ ต�

ำแหน่งร่วมทิศ

แนววงในกับดวงอาทิตย์ (Inferior Conjunction) ในวันที่ 16

สิงหาคม พ.ศ. 2558 ดังนั้นระยะกลางเดือนสิงหาคม พ.ศ.

2558 จึงเป็นระยะที่จะมองไม่เห็นดาวศุกร์ ช่วงนี้ดาวศุกร์จะ

เปลี่ยนต�

ำแหน่งจากการเป็นดาวประจ�

ำเมือง (อยู่ทางตะวันออก

ของดวงอาทิตย์) เห็นทางทิศตะวันตกตอนหัวค�่

ำ ไปเป็น

ดาวรุ่ง

(ไปอยู่ทางตะวันตกของดวงอาทิตย์) เห็นทางทิศตะวันออก

ตอนใกล้รุ่ง จึงเป็นระยะเวลาที่ดาวศุกร์ปรากฏเคลื่อนที่ไป

ทางตะวันตก นั่นคือการปรากฏถอยหลังของดาวศุกร์ ในพ.ศ. 2558

ดาวศุกร์ปรากฏถอยหลังระหว่าง 25 กรกฎาคม – 8 กันยายน

รวม 40 วัน การปรากฏถอยหลังของดาวศุกร์ เกิดขึ้นทุก ๆ

1.5 ปี การปรากฏถอยหลังจะเริ่มเกิดขึ้นตั้งแต่เมื่อดาวศุกร์อยู่

ทางตะวันออกของดวงอาทิตย์ 29 องศา ไปจนกระทั่งถึง เมื่อ

ดาวศุกร์อยู่ทางตะวันตกของดวงอาทิตย์ 21 องศา – 29 องศา

3. การปรากฏสว่างมากที่สุดของดาวศุกร์เกิดขึ้น 36 วัน

ก่อนไปอยู่ ณ ต�

ำแหน่งร่วมทิศแนววงใน ดังนั้นในปีนี้ดาวศุกร์จะ

ปรากฏสว่างที่สุดในวันที่ 9 - 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ขณะ

ปรากฏสว่างที่สุด ดาวศุกร์เป็นเสี้ยวมีขนาดเชิงมุม 37.5 พิลิปดา

ใหญ่กว่าขนาดเชิงมุมของดาวพฤหัสบดี (31.9 พิลิปดา) รูปร่าง

ของดาวศุกร์ในกล้องโทรทรรศน์จะมีลักษณะเป็นเสี้ยวคล้าย

เสี้ยวของดวงจันทร์ข้างขึ้นน้อย ๆ หรือจันทร์ยิ้ม

1. เป็นดาวเคราะห์ที่ปรากฏสว่างที่สุด เพราะสะท้อน

แสงได้ดีที่สุด (อัลบีโด 0.65) และอยู่ใกล้โลกที่สุด

ข้อมูลเพิ่มเติมส�

ำหรับดาวศุกร์

5. ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่หมุนรอบตัวเองช้าที่สุด

โดยใช้เวลาหมุนรอบละประมาณ 243 วัน ในขณะที่โคจรรอบ

ดวงอาทิตย์รอบละ 225 วัน นอกจากนี้ยังมีแกนที่หมุนรอบเอียง

มากโดยแกนที่ผ่านขั้วเหนือเอียงจากแนวตั้งฉากกับระนาบทาง

โคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์เป็นมุมมากกว่า 90 องศา

จึงท�

ำให้เราเห็นดาวศุกร์หมุนในทิศทางตรงข้ามกับโลกและ

ดาวเคราะห์ดวงอื่น

6. ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่มีอุณหภูมิผิวสูงสุดทั้งนี้

เพราะมีบรรยากาศหนาทึบเต็มไปด้วยก๊าซเรือนกระจก คือ

คาร์บอนไดออกไซด์ ภาวะเรือนกระจกจึงเพิ่มให้อุณหภูมิผิวของ

ดาวศุกร์สูงขึ้นมากถึง 460 องศาเซลเซียส

7. ดาวศุกร์ คือดาวเคราะห์ที่น�

ำชื่อมาตั้งเป็นชื่อวันศุกร์

ขณะปรากฏสว่างที่สุด ดาวศุกร์เป็นเสี้ยวมีขนาดเชิงมุม 37.5

พิลิปดาใหญ่กว่าขนาดเชิงมุมของดาวพฤหัสบดี (31.9 พิลิปดา)

รูปร่างของดาวศุกร์ในกล้องโทรทรรศน์จะมีลักษณะเป็นเสี้ยว

คล้ายเสี้ยวของดวงจันทร์ข้างขึ้นน้อย ๆ หรือจันทร์ยิ้ม

4. ดาวศุกร์อยู่ทางตะวันออกของดวงอาทิตย์มาก

ที่สุดในวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2558 โดยอยู่ห่าง 47 องศา

จึงเป็นวันที่ดาวศุกร์ตกช้าที่สุด ต�

ำแหน่งทางตะวันออกดวงอาทิตย์

มากที่สุดของดาวศุกร์จะเกิดขึ้นก่อนไปอยู่ต�

ำแหน่งร่วมทิศแนว

วงในเป็นเวลา 72 วัน

ข้อมูลส�

ำหรับดาวพฤหัสบดี

1. เป็นดาวเคราะห์ดวงใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ โดย

มีเส้นผ่านศูนย์กลางเกือบ 11 เท่าของโลก

2. เป็นดาวเคราะห์ที่มีบริวารมากที่สุด (63 ดวง)

และบริวารหลายดวงมีน�้

ำอยู่ใต้ผิว เช่น แกนีมีด

3. เป็นดาวเคราะห์ที่เคลื่อนที่ไปทางตะวันออกช้า ๆ

ใช้เวลาประมาณเกือบ 12 ปีจึงกลับมาที่เก่า ดังนั้นในปี 1 ปี

จึงผ่านกลุ่มดาวจักรราศีได้ปีละประมาณ 1 กลุ่ม

รูป 3. ปรากฏการณ์ดาวชุมนุม ท้องฟ้าประเทศไทยทางทิศตะวันตก

วันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 เวลา 19:00 น.

รูป 4. ดาวศุกร์เป็นเสี้ยว

ที่มา

http://www.narit.or.th/index.php/astro-photo/solar-system-

objects/849-venus