Previous Page  23 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 23 / 62 Next Page
Page Background

23

ปีที่ 43 ฉบับที่ 195 กรกฎาคม - สิงหาคม 2558

ถ้าถามว่าเราจะลดพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ในบ้านได้อย่างไร

ค่าพลังงานไฟฟ้าที่กล่าวมาส่วนแรกนี้ เมื่อน�

ำมาคิดเป็น

เงินค่าพลังงานไฟฟ้าที่ผู้ใช้พลังงานไฟฟ้าต้องจ่ายค่าพลังงานก็

เรียกกันว่า

ค่าไฟฟ้าฐาน

ค่าไฟฟ้าฐานนี้คิดรวมจากค่าก่อสร้าง

โรงไฟฟ้า ค่าระบบสายส่งพลังงาน ค่าเชื้อเพลิงส�

ำหรับผลิต

พลังงานไฟฟ้า และค่าใช้จ่ายในการด�

ำเนินงาน ค่าไฟฟ้าฐานนี้

ใบแจ้งค่าไฟฟ้าจะใช้ค�

ำว่า “ค่าพลังงานไฟฟ้า”

นอกจากนี้ยังมีค่ าพลังงานไฟฟ้ าอีกส่ วนหนึ่งที่

ปรับเปลี่ยนเพิ่มขึ้นหรือลดลงจากการที่ได้ประมาณการไว้ในค่า

ไฟฟ้าฐานซึ่งเรียกว่า

ค่าไฟฟ้าผันแปร

หรือ

ค่าเอฟที (Ft)

โดยก�

ำหนดอัตราค่าไฟฟ้าผันแปรเป็นหน่วย (ยูนิต) ละกี่บาทซึ่ง

ราคานี้เป็นตัวเลขที่เป็นที่ยอมรับของคณะรัฐมนตรี และยังมี

เงินอีกส่วนหนึ่งที่เราต้องจ่ายคือ

ภาษีมูลค่าเพิ่ม

ที่ผู้ขอใช้สินค้า

หรือผู้ขอรับบริการจะเป็นผู้รับภาระภาษี ซึ่งภาษีส่วนนี้รัฐจะน�

ไปใช้การพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ ต่อไป

กล่าวโดยสรุปในส่วนที่เกี่ยวกับการจ่ายค่าไฟฟ้าได้ว่า

ค่าไฟฟ้าที่เราต้องจ่ายทั้งสิ้นนั้นเป็นดังนี้

เงินที่ต้องช�

ำระค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน(ค่าพลังงาน

ไฟฟ้า)+ค่าไฟฟ้าผันแปร+ภาษีมูลค่าเพิ่ม

การก�

ำหนดราคาค่าไฟฟ้ายังก�

ำหนดเป็น

อัตราก้าวหน้า

กล่าวคือ ถ้ายิ่งใช้พลังงานไฟฟ้ามากค่าไฟฟ้าจะยิ่งสูงขึ้น เช่น

150 หน่วยแรก ( 1 – 150 ) ราคาพลังงานไฟฟ้า

414.42 บาท

250 หน่วยต่อไป (150 – 400) ราคาพลังงานไฟฟ้า

934.05 บาท

เราจะเห็นว่า 150 หน่วยแรกราคาพลังงานไฟฟ้าจะถูกกว่า

250 หน่วยต่อไป ซึ่งสาเหตุส�

ำคัญที่ต้องใช้อัตราก้าวหน้านี้

เนื่องจากเชื้อเพลิงซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ก๊าซธรรมชาติที่เข้ามามีส่วน

ในการผลิตพลังงานไฟฟ้ามีจ�

ำนวนจ�

ำกัดและต้องน�

ำเข้าจาก

ต่างประเทศ จึงต้องการให้ประชาชนใช้พลังงานไฟฟ้าเท่าที่จ�

ำเป็น

และใช้อย่างประหยัด

จากการที่

ก�

ำลังไฟฟ้า

ของเครื่องใช้ไฟฟ้า และ

จ�

ำนวน

เวลาที่ใช้

เครื่องใช้ไฟฟ้านั้น เป็นปริมาณส�

ำคัญ 2 ปริมาณหลักที่

จะท�

ำให้เราต้องจ่ายเงินค่า

พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ไป

มากหรือน้อย

ดังนั้นการที่จะลดพลังงานไฟฟ้าลงได้นั้นท�

ำได้ดังนี้

1. ควบคุมจ�

ำนวนเวลาที่ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิด เช่น

การปิดเครื่องรับโทรทัศน์เมื่อไม่มีคนดู

2. ควบคุมจ�

ำนวนเครื่องใช้ไฟฟ้าให้ใช้ตามที่มีความ

จ�

ำเป็นจริง ๆ เท่านั้น เช่น การปิดหลอดไฟฟ้าเมื่อ

ไม่ต้องการใช้แสงสว่าง

3. ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างถูกวิธี เช่น ขณะใช้หม้อหุงข้าว

ไฟฟ้าไม่ควรเปิดฝาหม้อข้าวเพื่อดูข้าว เพราะจะท�

ำให้

สูญเสียความร้อนท�

ำให้เสียค่าไฟฟ้ามากขึ้น

การจ่ายค่าพลังงานไฟฟ้านั้นเราในฐานะประชาชนที่ต้อง

รับผิดชอบต่อพลังงานไฟฟ้าที่เราใช้ไปตามใบแจ้งค่าไฟฟ้าซึ่ง

แจ้งรวมค่าไฟฟ้าฐาน ค่าไฟฟ้าผันแปร และภาษีมูลค่าเพิ่ม

รวมทั้งค่าบริการรายเดือนอีกด้วย อีกทั้งเรายังต้องช่วยดูแลรักษา

ระบบสายส่งพลังงานไฟฟ้าในบ้านไม่ว่าจะเป็นสวิตช์ ปลั๊กสายไฟฟ้า

แผงควบคุมไฟฟ้า และฟิวส์ เพื่อที่เราจะได้มีระบบไฟฟ้าใช้กัน

ได้อย่างประหยัดและปลอดภัยตลอดไป

ภาพ ใบแจ้งค่าไฟฟ้า

กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม.

ข้อแนะน�

ำการประหยัดไฟฟ้าในครัวเรือน เอกสารเผยแพร่ ฉบับที่ B1.

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555).

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1.

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

บรรณานุกรม