Previous Page  26 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 26 / 62 Next Page
Page Background

นิตยสาร สสวท.

26

ใบความรู้ที่ 2

ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง สมบัติคอลลิเกทีฟ

ของสารละลาย โดยกล่าวถึงตัวท�

ำละลายบริสุทธิ์ (pure solvent)

จะมีความดันไอ จุดเดือด และจุดเยือกแข็งที่แน่นอน แต่

เมื่อมีตัวถูกละลาย ผสมอยู่เป็นสารละลายเนื้อเดียวกัน (homoge-

neous solution) จะส่งผลให้สารละลายมีสมบัติบางประการ

เปลี่ยนไป เช่น จุดเดือด จุดเยือกแข็ง ความดันไอ และความดัน

ออสโมติก

นอกจากนี้ยังพบว่า สารละลายที่มีความเข้มข้นต�่

ำ ๆ

การลดต�่

ำลงของความดันไอ การลดต�่

ำลงของจุดเยือกแข็ง และ

การเพิ่มสูงขึ้นของจุดเดือดของสารละลาย

รวมทั้งความดัน

ออสโมติกของสารละลาย จะขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสารละลาย

ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าจะขึ้นอยู่กับปริมาณหรือจ�

ำนวนอนุภาคของ

ตัวถูกละลายที่มีอยู่ในสารละลายเท่านั้น โดยจะไม่ขึ้นอยู่กับ

ชนิดของตัวถูกละลาย สมบัติที่ขึ้นอยู่กับปริมาณของตัวถูกละลาย

แต่ไม่ขึ้นอยู่กับชนิดของตัวถูกละลาย เรียกว่า

สมบัติคอลลิเกตีฟ

(colligative properties)

ใบความรู้ที่ 3

ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง กระบวนการ

ตกผลึก การตกผลึกของสารเกิดจาก 2 กระบวนการ คือ

การเกิดนิวเคลียส (nucleation) และการโตของผลึก (growth)

โดยการตกผลึกนั้นจะเริ่มต้นด้วยการเกิดนิวเคลียสก่อนเสมอ

และจากนั้นจะมีการโตของผลึก ซึ่งสามารถศึกษาความสัมพันธ์

ได้ดังกราฟ

ในการท�

ำให้เกิดนิวเคลียส สามารถท�

ำได้โดยมีการรบกวน

ระบบ เช่น การเปลี่ยนแปลงความดัน อุณหภูมิ หรือมีแรงจาก

ภายนอกเข้ามากระท�

ำ และเมื่อเวลาผ่านไปจะเกิดกระบวนการโต

ของผลึก

เมื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม ศึกษาใบความรู้ และเลือกสาร

เคมี วัสดุ อุปกรณ์แล้ว จะต้องท�

ำการออกแบบตามแนวคิดของ

ตัวเอง โดยจะต้องมีการท�

ำแบบร่าง บันทึกลงในใบงานที่

ก�

ำหนดให้ จากนั้นจึงลงมือประดิษฐ์ตามต้นแบบแนวคิดที่ได้

ออกแบบไว้ แต่เมื่อได้ทดสอบตามแนวคิดที่ออกแบบไว้แล้ว

ไม่ สามารถท�

ำเป็นสเลอปี้ ได้ ตามต้ องการก็สามารถที่จะ

ปรับเปลี่ยนกระบวนการท�

ำหรืออุปกรณ์ได้อีก หากยังอยู่ใน

ช่วงเวลาที่ก�

ำหนดไว้

รูปที่ 3 ตัวอย่างแนวคิดและขั้นตอนการท�

ำ สเลอปี้ิ

ในการท�

ำกิจกรรมนี้ก็เพื่อให้ผู้ท�

ำกิจกรรมมีความรู้

พื้นฐานที่จะน�

ำมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาและออกแบบ

กระบวนการหรือสร้างสิ่งประดิษฐ์ ซึ่งในบางครั้งครูอาจต้องให้

ศึกษาความรู้เพิ่มเติมด้วย เช่น กิจกรรมนี้ได้จัดท�

ำใบความรู้

เพื่อให้ผู้ท�

ำกิจกรรมศึกษา ดังนี้

ใบความรู้ที่ 1

ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง สมบัติของแก๊ส

จะกล่าวถึงความดันที่ไม่มีผลต่อสภาพการละลายของของเหลว

และของแข็ง แต่จะมีผลอย่างมากต่อสภาพการละลายของแก๊ส

สภาพการละลายของแก๊สขึ้นอยู่กับความดัน ซึ่งเป็นไปตามกฎ

ของเฮนรี่ (Henry’s law) ที่กล่าวว่า สภาพการละลายของแก๊ส

ในของ เหลวแปรผันตรงกับความดันของแก๊ สนั้นเหนือ

สารละลาย ซึ่งเขียนสมการแสดงความสัมพันธ์ ได้ดังนี้

C = kP

C คือความเข้มข้นของแก๊สที่ละลายอยู่มีหน่วยเป็น mol/L

P คือความดันของแก๊สเหนือสารละลายมีหน่วยเป็น atm

k คือค่าคงที่มีหน่วยเป็น mol/L .atm