

คณะที่ปรึกษา
ประธานกรรมการ สสวท.
ผู้อำ�นวยการ สสวท.
บรรณาธิการบริหาร
ธรชญา พันธุนาวนิช
ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ
รองผู้อำ�นวยการ สสวท.
ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ สสวท.
หัวหน้ากองบรรณาธิการ
พงษเ์ทพ บุญศรีโรจน์
กองบรรณาธิการ
ดร.กุศลิน มุสิกุล
ดร.ชัยวุฒิ เลิศวนสิริวรรณ
ณรงค์ แสงแก้ว
ถนิม ทิพย์ผ่อง
ธันยากานต์ ยืนตระกูลชัย
นวรัตน์ อินทุวงศ์
เบ็ญจวรรณ ศรีเจริญ
ประกายกานต์ ตรีอาภรณ์
ดร.ประสงค์ เมธีพินิตกุล
ปาริฉัตร พวงมณี
พรพจน์ พุฒวันเพ็ญ
ราม ติวารี
ดร.วนิดา ธนประโยชน์ศักดิ์
วราภรณ์ ต.วัฒนผล
สมเกียรติ เพ็ญทอง
สุพจน์ วุฒิโสภณ
ดร.สุพรรณี ชาญประเสริฐ
ดร.สุพัตรา ผาติวิสันติ์
อุปการ จีระพันธุ
ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ
ดร.สมชาติ ไพศาลรัตน์
ดร.อนุชิต อารมณ์สาวะ
นิลุบล กองทอง
รัชนีกร มณีโชติรัตน์
สินีนาฎ ทาบึงกาฬ
ดวงมาลย์ บัวสังข์
สิริมดี นาคสังข์
สุประดิษฐ์ รุ่งศรี
เจ้าของ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
924 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย
กรุงเทพมหานคร 10110
โทร. 0-2392-4021 ต่อ 3307
Call Center: 0-2335-5222
(ข้อเขียนทั้งหมดเป็นความเห็นอิสระของผู้เขียน มิใช่ของ สสวท.
หากข้อเขียนใดผู้อ่านเห็นว่าได้มีการลอกเลียนแบบหรือแอบอ้าง
โดยปราศจากการอ้างอิง กรุณาแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบด้วย
จักเป็นพระคุณยิ่ง)
วัตถุประสงค์
1. เผยแพร่และส่งเสริมความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยีให้แก่ครูและผู้สนใจทั่วไป
2. เผยแพร่กิจกรรมและผลงานของ สสวท.
3. เสนอความก้าวหน้าของวิทยาการในด้านการศึกษา
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีที่จะสนับสนุน
การศึกษาของชาติให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบัน
4. แลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับ
ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
จากครูและผู้สนใจทั่วไป
การพัฒนาการศึกษาด้านสะเต็มศึกษายังมีงาน "ทูตสะเต็ม" ที่เป็นอาสาสมัครช่วย
กระตุ้นการศึกษาด้านนี้ ในฉบับนี้ได้มีโอกาสสัมภาษณ์กัปตันโสภณ พิฆเนศวร ที่อุทิศตน
ในหน้าที่นี้ ความสุขของเขาคืออะไร ขอเชิญชวนทุกท่านสู่โลกของทูตสะเต็ม
ปัจจุบันแบตเตอรี่นอกจากจ�ำเป็นในแทบทุกอุปกรณ์แล้ว ในอนาคตยังเป็นอุปกรณ์ส�ำคัญ
ส�ำหรับเก็บส�ำรองพลังงานสะอาด เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ หรือ พลังงานลม เรามาเริ่มต้น
ท�ำความรู้จักกับแหล่งพลังงานนี้กัน
คณิตศาสตร์อธิบายปรากฏการณ์คอขวดที่เข้าใจได้ยากในพันธุศาสตร์ประชากร
ให้สามารถเข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น ตลอดจนการจัดกิจกรรมเพื่อศึกษาปรากฏการณ์คอขวดให้เข้าใจง่าย
เพราะคณิตศาสตร์ที่หลายๆ คนเข้าใจได้ยาก แต่หากเรามีความเข้าใจคณิตศาสตร์ มีวิธีการ
คิดเยี่ยงนักคณิตศาสตร์หรือจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ แม้ภาษาที่ดูแล้วห่างไกลกับคณิตศาสตร์
เมื่อเราพิจารณาภาษาและการนับ ก็มีผลต่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของนักเรียน
การพัฒนาให้นักเรียนมีความคิดที่จะเป็นนักพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ อาจเริ่มที่
การสอนเขียนโปรแกรม สิ่งที่นักเรียนจะได้คือการฝึกทักษะการคิดแบบมีเหตุผล และเป็นขั้นตอน
ซึ่งไม่ได้ยากอย่างที่คิด เพราะเราสอนเขียนโปรแกรมได้โดยไม่ต้องใช้คอมพิวเตอร์ หรือเสริม
โดยใช้สื่อการเรียนรู้ออนไลน์
ครูวิทยาศาสตร์ในประเทศสหรัฐอเมริกามีแนวคิดการจัดการเรียนการสอนอย่างไร
ติดตามกันในบทสัมภาษณ์แลกเปลี่ยนความรู้ เพื่อน�ำมาปรับรูปแบบให้เหมาะสมกับบ้านเรา
อสุรกายชายหาด หรือ สตรันด์เบสต์ (Strandbeest) จากการคิดค้นและพัฒนาขาให้
เป็นกลไกการเคลื่อนที่ในภูมิประเทศที่มีเส้นทางขรุขระ และสามารถใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน
ตามแนวทางของสะเต็มศึกษาในรูปแบบกิจกรรมสะเต็มศึกษา
ท้ายสุดฉบับนี้ กองบรรณาธิการขอฝากแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อนิตยสาร
สสวท. เพื่อใช้ในการปรับปรุงทั้งเนื้อหาและรูปแบบ โปรดสละเวลาอันมีค่าเพื่อพัฒนา
นิตยสาร สสวท. ฉบับต่อๆ ไป พบกันใหม่ในเล่มหน้า..สวัสดี
ธรชญา พันธุนาวนิช
บรรณาธิการบริหาร
เปิดเล่ม
สสวท.
ปีที่ 44 ฉบับที่ 201 กรกฎาคม - สิงหาคม 2559