

ต่ายหวังว่า ประสบการณ์จากน�้ำหลาก ณ วันนี้ จะท�ำให้
เราตระหนักและรักษ์น�้ำกันมากขึ้น จะท�ำให้เราปรับพฤติกรรม
การใช้ชีวิตไปในทางรักษ์สิ่งแวดล้อมรอบตัวเรามากขึ้น
เอาหล่ะ คราวนี้ต่ายขอย้อนกลับมาเข้าเรื่องที่เล่าค้างไว้
เมื่อฉบับก่อน คือ เรื่องความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) ซึ่งการ
พัฒนาประเทศในอนาคตเราต้องการคนที่มีความคิดสร้างสรรค์
เพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ให้มาเป็นฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจ
ของประเทศ พูดง่ายๆ ก็คือ เราต้องการนักคิดนักพัฒนามาสร้าง
ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เพื่อแข่งขันทางด้านการค้ากับนานาชาตินั่นเอง
ต่ายคิดว่าคุณๆต้องมีค�ำถามแน่ๆว่าความคิดสร้างสรรค์
คืออะไร ความคิดสร้างสรรค์ก็คือความสามารถในการสร้าง
แนวคิดใหม่ๆซึ่งเป็นแนวคิดที่มีความเป็นไปได้ที่จะน�ำมาใช้ในการท�ำ
อะไรสักอย่างที่แตกต่างจากสิ่งที่มีอยู่ ความคิดสร้างสรรค์ต้อง
อาศัยความรู้และประสบการณ์เดิม บวกกับจินตนาการมาช่วย
ในการคิด ต่ายสืบค้นข้อมูลและพบว่า เรื่องความคิดสร้างสรรค์นี้
มีการสอนกันในโรงเรียนด้วย ใช้กันในหลากหลายวิชาเลยทีเดียว
เพื่อให้คุณๆ เห็นภาพได้ชัดเจนขึ้นเกี่ยวกับการพัฒนา
เรื่องความคิดสร้างสรรค์ในชั้นเรียน คุณๆสามารถดูได้จากแผนภาพ
ที่ต่ายได้ท�ำขึ้น สิ่งแรกที่ผู้สอนต้องค�ำนึงก็คือ เด็กแต่ละคน
มีความรู้พื้นฐานและประสบการณ์ที่แตกต่างกัน ครู คือบุคคล
ส�ำคัญในชั้นเรียนที่จะต้ องเลือกใช้ ค�ำถามเพื่อให้นักเรียน
58
นิตยสาร สสวท
QUIZ
สวัสดี
คุณๆ ที่รักของต่าย ณ เวลาที่ต่ายเขียนต้นฉบับอยู่นี้ ประชาชนชาวไทยก�ำลังอยู่ในฤดูน�้ำหลาก น�้ำล้นตลิ่ง และ
บางพื้นที่ก็น�้ำท่วมแล้ว หากคุณๆ ที่สามารถนึกย้อนไปในสมัยอดีตได้ (เพราะคุณๆ อายุมากแล้ว) หรือถ้านึกย้อนไปไม่ได้ (เพราะอายุน้อย)
ก็ต้องลองสืบค้นหาข้อมูลหรือภาพในอดีตของประเทศไทยสมัยที่ยังมีแต่ป่า หนองบึง และทุ่งนาโล่งกว้าง ก่อนหน้าที่จะมีความเจริญ
ทางวัตถุเข้ามา ซึ่งประชาชนคนไทยในสมัยนั้นก็จะคุ้นเคยกับฤดูน�้ำหลาก น�้ำคะนองล้นตลิ่ง การใช้เรือในการเดินทางไปมาหาสู่กัน
และบ้านเรือนใต้ถุนสูง ผู้คนในช่วงเวลานั้นสามารถปรับตัวที่จะอยู่ร่วมกับน�้ำได้อย่างลงตัว ณ เพลานั้น (อ่านว่า เพ-ลา นั้น) เวลา
น�้ำหลากน�้ำล้นท่วมพื้นที่ลุ่มภาคกลาง มันเป็นน�้ำสะอาดที่มาพร้อมกับสิ่งมีชีวิตในน�้ำจืดหลากหลายสายพันธุ์ ไม่ว่าจะเป็นปลานานาๆชนิด
(ต่ายนึกถึงละครพื้นบ้านเรื่องปลาบู่ทอง) จระเข้พันธุ์ไทยว่ายน�้ำกันมาฝูงใหญ่ (ต่ายนึกถึงเรื่องไกรทอง) และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่มาพร้อมกับ
สายน�้ำ ถือเป็นอีกช่วงเวลาที่ผู้คนในสมัยนั้นได้จับปลาและน�ำมาท�ำเป็นอาหารแปรรูปมากมายสะสมไว้ ไม่ว่าจะเป็นปลาแดดเดียว ปลาแห้ง
ปลาเค็ม ปลาร้า ปลาจ่อม ปลารมควัน นี่เองที่เป็นส่วนหนึ่งของค�ำกล่าวของคนโบร�่ำโบราณ ที่กล่าวว่า "ในน�้ำมีปลา ในนามีข้าว"
รูปที่ 1
แสดงประเภทของแหล่งน้ำ�บนโลก
ที่มา:
Real-Time Groundwater Level Monitoring Network
http://snr-1349.unl.edu/navigation/waterdistribution.aspxรูปที่ 2
แผนภาพอย่างง่ายแสดงการได้มาซึ่งนวัตกรรมผ่านความคิดสร้างสรรค์
ณ กาลนี้ ..... ผู้คนกลับมากลัวฤดูน�้ำหลาก ไม่มีความ
ยินดีปรีดาเหมือนแต่ก่อน เพราะน�้ำหลากน�้ำล้นในปัจจุบันนี้
มันคือน�้ำที่สกปรกถึงขั้นมีสีด�ำในบางชุมชน มีแต่ขยะที่ต่างคน
ต่างสร้างและทิ้งกันคนละชิ้นสองชิ้นในตอนน�้ำแห้ง บ้านใต้ถุนสูง
ก็ไม่มีแล้ว เรือที่เคยเก็บไว้ใต้ถุนบ้านก็ไม่มีแล้ว ครั้นจะจับปลา
ที่มากับน�้ำหลากก็ไม่มีปลาให้จับ ต่ายกล้าพูดเลยว่า มนุษย์
ก�ำลังพัฒนาไปในทางที่ท�ำลายตัวเอง โดนเฉพาะสิ่งที่ส�ำคัญที่สุด
ที่เรามักจะคิดว่า มันมีอยู่แยะ คือ น�้ำ จากแผนภาพจะเห็นได้ว่า
บนโลกใบนี้ น�้ำจืดที่เราใช้อุปโภคบริโภคในแม่น�้ำล�ำคลองและ
ทะเลสาบมีเพียงแค่ 1% เท่านั้นเอง
ความรู้พื้นฐาน
ครู
ประสบการณ์
แนวคิดที่ 1
แนวคิดที่ 2
แนวคิดที่ 3
แนวคิดที่ 4
แนวคิดที่
n
ประเมินและคัดเลือก
สถานการณ์
ที่กำ�หนด
นวัตกรรมใหม่
จากความคิดสร้างสรรค์
(แนวความคิดและสิ่งประดิษฐ์)