Table of Contents Table of Contents
Previous Page  37 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 37 / 62 Next Page
Page Background

37

ปีที่ 46 ฉบับที่ 211 มีนาคม - เมษายน 2561

การเรียนรู้ภัยพิบัติไม่ว่าจะเป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติหรือภัยพิบัติที่เกิดจากมนุษย์

การเตรียมการรับมือกับภัยพิบัติ เป็นสิ่งที่ทุกคนควรพึงตระหนักและให้ความสนใจ เพราะเมื่อ

เกิดเหตุการณ์จะได้มีความรู้ในการปรับตัวรับสถานการณ์ที่อาจจะเกิดตามมา เช่น รู้ว่าจะต้อง

ท�ำอย่างไร จึงจะสามารถด�ำรงชีวิตอยู่ได้ต่อไป

บรรณานุกรม

AC News. (2560, 23 สิงหาคม). 3 นิคมฯ จังหวัดอยุธยาซ้อมแผนป้องน�้ำท่วมสร้างความเชื่อมั่นนักลงทุน. สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2561,

จาก

http://www.acnews.net/detailnews.php?news_id=N256019310.

Guha-Sapir D, Hoyois Ph., Wallemacq P. & Below. R. (October 2017).

Annual Disaster Statistical Review 2016: The Numbers

and Trends

. Brussels: CRED.

Munich Re. (2017, 27 March).

The year in figures.

Retrieved January 30, 2018, from

https://www.munichre.com/topics-online/ en/2017/topics-geo/overview-natural-catastrophe-2016.

Munich Re. (2018, January).

Loss events worldwide 2017.

Retrieved January 30, 2018, from

https://www.munichre.com/en/ media-relations/publications/press-releases/2018/2018-01-04-press-release/index.html.

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย. (2557).

การลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน.

กรุงเทพมหานคร:

ส�ำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ส�ำนักงานประเทศไทย.

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. (2560).

คู่มือประชาชนในการเตรียมตัวให้รอดปลอดภัยพิบัติ.

กรุงเทพมหานคร: บริษัท เวิร์ค พริ้นติ้ง จ�ำกัด.

โครงการต�ำราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มูลนิธิ สอวน. (2557).

ภูมิศาสตร์กายภาพ

. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์.

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. (2556). สุขภาพคนไทย ประเทศไทยในสถานการณ์ภัยธรรมชาติพิบัติ. สืบค้นเมื่อ

31 มกราคม 2561, จาก

http://docs.wixstatic.com/ugd/bdfbef_d574c7cf7a35457fa85cc82cba8b6ce5.pdf.

สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน�้ำและการเกษตร. บันทึกเหตุการณ์มหาอุทกภัยปี 2554. สืบค้นเมื่อ 31 มกราคม 2561, จาก

http://www.thaiwater.net/current/flood54.html.

ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2555). สถิติสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย พ.ศ. 2555. สืบค้นเมื่อ 31 มกราคม 2561, จาก

http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/service/envThailand/2555.pdf.

เตรียมรับมืออย่างไรเมื่อภัยพิบัติมาเยือน

การเตรียมรับมือภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้นหมายความ

รวมถึงการป้องกันและการลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้น มีวิธี

การเตรียมการรับมือได้หลายวิธี เช่น การติดตามข่าวสาร

จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การเตรียมน�้ำดื่มและเครื่องอุปโภค

บริโภค การวางแผนและฝึกซ้อมแผนอพยพเพื่อเตรียม

รับมือเมื่อภัยพิบัติเกิดขึ้น เช่น แผนเตรียมอพยพคนเมื่อเกิด

เหตุน�้ำท่วม แผ่นดินไหว การดับไฟป่า เป็นต้น นอกจากนี้

การเฝ้าระวังภัยก็เป็นการเตรียมรับมือรูปแบบหนึ่งที่สามารถ

ลดความรุนแรงของผลกระทบที่จะเกิดได้ เช่น เครือข่าย

เฝ้าระวังแจ้งเตือนภัยพิบัติของกรมทรัพยากรธรณี มีการ

แจ้งเตือนภัยธรณีพิบัติภัยในชุมชนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เสี่ยง

เฝ้าระวังโดยการวัดปริมาณฝนและมีการแจ้งเตือนเมื่อระดับ

น�้ำฝนอยู่ในเกณฑ์ที่ต้องมีการเตือนภัยและอพยพ เป็นต้น

การป้องกันก็เป็นหนทางหนึ่งที่ช่วยลดผลกระทบที่จะเกิด

ขึ้นได้ เช่น การตั้งแคมป์ในป่า เมื่อมีการจุดไฟ หรือสูบบุหรี่

ควรดับไฟให้สนิททุกครั้ง หรือ การปลูกต้นไม้ในพื้นที่ต้นน�้ำ

เพื่อช่วยดูดซับน�้ำเพื่อป้องกันเหตุการณ์ดินถล่มและน�้ำป่า

ไหลหลากได้ นอกจากนี้การศึกษาวิธีการป้องกันตัวเมื่อเกิด

เหตุการณ์แผ่นดินไหวหรือศึกษาจุดอพยพสึนามิ เมื่อต้องไป

เยือนพื้นที่ที่มีความเสี่ยงการเกิดภัยพิบัติเหล่านี้ก็เป็นทาง

เลือกหนึ่งที่สามารถท�ำได้ด้วยตัวเอง

หากเมื่อภัยพิบัติเกิดขึ้นแล้ว การด�ำเนินการฟื้นฟู

พื้นที่หลังจากเหตุการณ์ผ่านพ้นไปโดยชุมชนหรือภาครัฐ เช่น

การบริจาค การฟื้นฟูทางกายและจิตใจ การติดตามประเมิน

ความเสียหายและการรับเงินชดเชยจากภาครัฐ เป็นต้น

แนวทางเหล่านี้เป็นหนทางที่จะช่วยให้สถานการณ์กลับสู่

ภาวะปกติ และผู้ประสบเหตุสามารถปรับตัวและด�ำรงชีวิต

ต่อไปได้

http://bit.ly/211-v2
Play Video