Table of Contents Table of Contents
Previous Page  35 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 35 / 62 Next Page
Page Background

35

ปีที่ 46 ฉบับที่ 211 มีนาคม - เมษายน 2561

ที่มา

รายงานสุขภาพคนไทย สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556

ผลกระทบจากการเกิดภัยพิบัติเหล่านี้ ท�ำให้บางเหตุการณ์สร้างผลกระทบรุนแรง บางเหตุการณ์ส่งผลกระทบ

ในวงกว้าง การเรียนรู้เกี่ยวกับภัยพิบัติจึงมีความส�ำคัญและเป็นประโยชน์ต่อประชาชน รวมถึงเยาวชนของประเทศด้วย

รู้จักภัยพิบัติทางธรรมชาติจากกิจกรรมวงล้อภัยพิบัติ

สสวท. โดยโครงการวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมโลก ได้พัฒนากิจกรรม “วงล้อภัยพิบัติ” เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ และ

คิดสร้างสรรค์ประดิษฐ์สื่อเกี่ยวกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้นักเรียนได้เข้าใจลักษณะการเกิดภัยพิบัติ

ทางธรรมชาติ ผลกระทบที่เกิดขึ้น และเตรียมการรับมือกับภัยพิบัติในแต่ละประเภท

“วงล้อภัยพิบัติ”

เป็นอุปกรณ์ส�ำหรับจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องภัยพิบัติทางธรรมชาติ ได้แก่ น�้ำท่วม ดินถล่ม

ไฟป่า แผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิด ภัยแล้ง พายุ และสึนามิ ภายในวงล้อภัยพิบัติประกอบด้วยข้อมูลดังนี้ (1) ลักษณะของ

ภัยพิบัติที่เกิดขึ้น (2) ผลกระทบที่เกิดจากภัยพิบัติแต่ละประเภท (3) การเตรียมการรับมือภัยพิบัติ ซึ่งรวมถึงการเตรียมตัว

รับมือภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้น และ/หรือ การป้องกันหรือการลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้น

ตารางที่ 1

สถิติภัยพิบัติในประเทศไทย พ.ศ. 2531 – 2555