

56
นิตยสาร สสวท.
นานาสาระ และข่าวสาร
QUIZ
รายชื่อผู้ที่ตอบคำ
�ถามถูกและได้รับรางวัล
CD การแสดงละครวิทยาศาสตร์ และหรือ CD
ทัศนศึกษาออนไลน์ คือ
1) คุณจุฑารัตน์ พลศักดิ์เดช จ.สุรินทร์
และต้องการให้ส่ง CD ไปให้ โรงเรียนบ้านแดง
โรงเรียนรัฐราษฎร์พัฒนา โรงเรียนบ้านสำ
�โรง และ
โรงเรียนบ้านตะโนน จ.สุรินทร์
2) คุณวันทนีย์ แตงกวา จ.พิษณุโลก ต้องการ
ให้ส่ง CD ไปที่ โรงเรียนบ้านเนินสุวรรณ จ.พิษณุโลก
3) คุณสุนีย์ ทองสิริประภา ห้องสมุดและศูนย์สื่อ
การเรียนรู้ ตู้ ป.ณ.1050 ปณ. เกษตรศาสตร์ จตุจักร
กรุงเทพฯ 10903
4) โรงเรียนบ้านหนองบัวน้อย จ.ตรัง
5) คุณรวีวรรณ พันธ์ช่อทอง โรงเรียนวัดหนอง
ตะเฆ่ จ.สระบุรี
6) วิสิษฐ์ เจริญวัฒนวิญญู โรงเรียนพนัส
พิทยาคาร จ.ชลบุรี
สวัสดีคุณ ๆ ที่รักของต่าย เมื่อกล่าวถึงเรื่องวิธีการ
เรียนรู้ของเด็ก ๆ และวิธีการถ่ายทอดความรู้ของคุณครู
ต่ายคิดว่าเราคงต้องยอมรับกันเลยหล่ะ ว่าจริง ๆ แล้ว
แม้แต่ในประเทศไทยเองก็ยังมีความแตกต่างกันอย่าง
เห็นได้ชัด ความแตกต่างนั้นขึ้นอยู่กับว่าคุณ ๆ อยู่ที่ใด
อยู่ในตัวเมืองของแต่ละจังหวัด หรืออยู่ตำ
�บลเล็ก ๆ
รอบนอกตัวจังหวัด ซึ่งทั้งสองที่จะมีความแตกต่างกัน
อย่างเห็นได้ชัดในเรื่องของระบบพื้นฐานต่าง ๆ ไม่ว่า
จะเป็นการคมนาคม ขนส่ง การสื่อสาร และอื่น ๆ ซึ่ง
ความแตกต่างในเรื่องเหล่านี้ทำ
�ให้เรามองเห็นภาพได้
อย่างชัดเจนในเรื่องของการแข่งขันกันในด้านต่าง ๆ ที่
เกิดขึ้นในชีวิตประจำ
�วัน
คุณ ๆ ลองหลับตานึกภาพการเดินทางไป
โรงเรียนของเด็ก ๆ 2 กลุ่ม กลุ่มแรก ต่ายสมมุติให้เป็น
เด็กนักเรียนต่างจังหวัดไกล ๆ แค่เดินจากหมู่บ้านไป
โรงเรียน หรือขี่จักรยาน หรือโดยสารรถสองแถวที่มี
บริการเป็นประจำ
� อีกกลุ่ม กลุ่มเด็กนักเรียนในเมือง
หลวงที่มีการจราจรหนาแน่น ซึ่งกลุ่มนี้ก็คงต้องตื่น
แต่เช้านั่งหลับไปบนรถเมล์หรือรถผู้ปกครอง ต้องไป
ถึงโรงเรียนตั้งแต่ 6 โมงเช้า ความแตกต่างในเรื่องนี้
ก็เป็นแค่ส่วนหนึ่งที่ส่งผลต่อความพร้อมในการเรียน
ด้วยเช่นกัน
แต่ประเด็นที่ต่ายจะชูโรงในวันนี้ ก็คือเรื่องของ
การพัฒนาเทคโนโลยีทางด้านการสื่อสาร ที่ทำ
�ให้เกิด
การสื่อสารผ่านระบบอินเทอร์เน็ต เจ้าสิ่งนี้เองที่เป็น
ประเด็นทำ
�ให้นักการศึกษาทั่วโลกตื่นตัว และพยายาม
ส่งเสริมและผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ใน
เรื่องของการถ่ายทอดความรู้และการเรียนรู้
และคำ
�ถามฉบับที่181ช่วงนี้มีข่าวเรื่องมลภาวะทางอากาศ
เป็นพิษที่เมืองใหญ่ๆของประเทศจีนต่ายได้ฟังแล้วก็นึกถึง
สัดส่วนของแก๊สในอากาศ ที่เคยเรียนมาว่า ในอากาศที่
เราหายใจนั้นมีไนโตรเจนมากที่สุด ประมาณ 78% และ มี
ออกซิเจน ประมาณ21%และที่เหลือเป็นแก๊สอื่น ๆ คำ
�ถาม
ก็คือ
ออกซิเจนในอากาศที่มีอยู่นั้นได้มาจากแหล่งใดในโลก
ใบนี้
ต่ายจะไม่ใบ้ให้คุณ แต่อยากให้คุณ ๆ ค้นหาคำ
�ตอบ
และเขียนส่งมาที่ e-mail :
funny_rabbit@live.co.ukเขียนหัวข้อ e-mail ว่า ตอบคำ
�ถามฉบับที่ 181 และต้อง
ส่งก่อนวันที่ 9 กรกฎาคม 2556 โดยต้องใส่ที่อยู่ที่จะให้
จัดส่งของรางวัลมาให้เรียบร้อย ถ้าคุณๆ ไม่ใส่มา ต่ายขอ
สงวนสิทธิ์ไม่ส่งของรางวัลให้ และถ้าคุณบอกชื่อโรงเรียน
ของคุณ หรือโรงเรียนที่คุณอยากให้ต่าย ส่ง CD การ
แสดงละครวิทยาศาสตร์ และหรือ CD ทัศนศึกษาออนไลน์
แบบที่โรงเรียนสามารถนำ
�ไปใช้ในการเรียนการสอนได้แม้
โรงเรียนจะไม่มีอินเทอร์เน็ตที่ไว ๆ ต่ายก็จะส่ง CD ไปให้
โรงเรียนด้วยเหมือนเดิม เฉลยรออ่านได้ในฉบับที่ 183 จ้า
ต่าย แสนซน
จากภาพที่ 2.1 ที่ต่ายอ่านพบในหนังสือ Trilling,
B. and Fadel , C. (2009) 21st Century skills:
learning for life in our times. United States:
Jossey-Bass, p.206. คุณ ๆ จะเห็นได้ว่า การเรียนรู้
ในศตวรรษนี้ มีองค์ประกอบหลัก ๆ 4 ด้าน คือ 1) งาน
ที่เกิดจากความรู้ (knowledge work) ซึ่งสื่อไปถึงคน
ทำ
�งานที่ต้องมีความรู้เพื่อนำ
�ความรู้มาสร้างผลิตภัณฑ์
และนวัตกรรมใหม่ ๆ ขึ้นมา และทั่วโลกก็มองเห็นถึง
ความขาดแคลนของคนที่มีความรู้ในด้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ (ซึ่งถูกเรียกย่อ ๆ
ว่า STEM) 2) ทักษะที่ใช้คิด (thinking tools) เพื่อนำ
�
ความรู้ต่าง ๆ มาใช้สร้างงานหรือนวัตกรรมขึ้นมา 3)
งานวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู้ (learning research) ซึ่ง
ทำ
�ให้เราเข้าใจถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียน
รู้ ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบของการเรียนรู้ แรงจูงใจในการ
เรียนรู้ การสร้างบรรยากาศที่ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้
และวิธีการเรียนรู้ของมนุษย์ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
มากขึ้น และสุดท้ายการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของมนุษย์
ในปัจจุบันเข้าสู่ 4) วิถีชีวิตในยุคดิจิทัล (digital life-
styles) ทำ
�ให้รูปแบบของการเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้
ต้องเปลี่ยนแปลงไปด้วยเช่นกัน มันดูเป็นวิชาการมาก ๆ
แต่ต่ายขอบอกว่า คุณ ๆ อย่ามองเช่นนั้นเลย เพราะ
ว่าทั้งหมดทั้งมวลก็คือวิถีที่เราควรจะปฏิบัติเพื่อทำ
�ให้
เกิดการพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดชีวิต พร้อมเสมอกับการ
เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา
คุณๆ ที่มีอายุอานามผ่านร้อนผ่านหนาวมาหลาย
ปี จะเห็นได้ว่าในอดีตการเรียนรู้เนื้อหาและข้อมูลของ
ศาสตร์ต่าง ๆ ซึ่งมีน้อยก็ดูจะเป็นเรื่องง่ายต่อการจดจำ
�
และทำ
�ความเข้าใจ (คนในสมัยนั้นก็คงบอกว่ายาก
เช่นกัน) แต่ปัจจุบันต่ายเห็นว่าหากเรายังคงเลือกที่จะ
จัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้แบบเดิม ๆ โดยให้
นักเรียนเรียนรู้เนื้อหามาก ๆ วิธีการดังกล่าวคงไม่ทำ
�ให้
เราสามารถสอนและเรียนรู้เนื้อหาที่นับวันจะเพิ่มขึ้นได้
หมดสิ้นและทันเวลาอย่างแน่นอน
ดังนั้น ถึงเวลาแล้ว ที่เราต้องเปลี่ยนวิธีการเรียน
การสอน สอนเนื้อหาให้น้อยลงโดยสอนเฉพาะหลัก
หรือทฤษฎีที่จำ
�เป็นเท่านั้น แต่ต้องสอนกระบวนการ
ค้นหา เลือก และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำ
�มาใช้ให้ได้
ก่อน จากนั้นต่ายมั่นใจว่า เด็กรุ่นใหม่จะเลือกหาข้อมูล
ที่มีมากมายได้อย่างดีเลยทีเดียว ไม่ต้องรอมาบอกจด
แจกเอกสารมากมายในชั้นเรียน และสิ่งสำ
�คัญ การ
เฉลยคำ
�ถามฉบับที่ 179 ถามว่า เทศกาล
ภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ในปีนี้(ครั้งที่ 8) จัดพิธี
เปิดงานที่ไหน วันที่เท่าไหร่ คำ
�ตอบคือจัดที่ศูนย์
วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาท้องฟ้าจำ
�ลอง เอกมัย
ในวันศุกร์ที่ 23 เดือนพฤศจิกายน 2555
เรียนรู้ที่สมบูรณ์แบบจะเกิดขึ้นโดยลำ
�พังระหว่างครู
กับนักเรียนคงไม่ได้ จากภาพที่ 8.6 ในหนังสือเล่มเดิม
ซึ่งต่ายเห็นว่าเป็นภาพที่สรุปได้ชัดเจนว่า คน 4 กลุ่ม
คือ ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และผู้เชี่ยวชาญในเนื้อหา
ที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้นั้น ๆ จะต้องหันหน้าเข้ามา
หากัน ล้อมวงคุยกัน และดูว่า จากปัจจัยต่าง ๆ ที่ระบุ
ในกรอบ 4 เหลี่ยมนั้น เราขาดอะไรไปบ้าง ก็เติมเต็มกัน
ซะ จะได้เกิดการเรียนรู้ไปด้วยกัน สังคมก็พลอยชื่นมื่น
ไปด้วย เพราะรอบตัวมีแต่คนที่พร้อมจะเรียนรู้ ต่ายเชื่อ
ว่า สังคมจะสงบสุขถ้าทุกคนมีความรู้ ความคิด และ
ความเข้าใจในบทบาทและหน้าที่ของตน