Previous Page  57 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 57 / 62 Next Page
Page Background

เพียงแค่คุณ ๆ มีความกระตือรือร้นแบบไร้ขีดจำ

ากัด

คุณ ๆ ก็จะสามารถประสบความสำ

าเร็จได้แทบทุกอย่าง

ต่าย แสนซน

ต่ายขอร้องให้คุณ ๆ ช่วยส่งคำ

าตอบของคุณมาหาต่ายที่

funny_rabbit@live.co.uk

ภายในวันที่3 พฤศจ�

กายน 2556 โดยตŒ

องใส‹

ที่อยู‹

ที่จะใหŒ

จัดส‹

งของรางวัลของคุณ ๆ มาใหŒ

เร�

ยบรŒ

อย

และเช่นเดิม ต่ายยังคงย้ำ

าว่า ถ้าคุณ ๆ ไม่ใส่ที่อยู่มาให้ ต่ายก็คงจะ

ไม่สามารถส่งอะไรไปให้คุณ ๆ ได้เลย ต่ายรบกวนคุณ ๆ ช่วย

บอกชื่อโรงเรียนของคุณ หรือโรงเรียนที่คุณอยากให้ต่าย ส่ง CD

การแสดงละครวิทยาศาสตร์ และหรือ CD ทัศนศึกษาออนไลน์

แบบที่โรงเรียนสามารถนำ

าไปใช้ในการเรียนการสอนได้ แม้

โรงเรียนจะไม่มีอินเทอร์เน็ตที่ไว ๆ ต่ายจะได้ส่งCD ไปให้โรงเรียน

ได้ นอกเหนือจากของรางวัลที่คุณ ๆ จะได้รับ สำ

าหรับเฉลยจะ

ปรากฏให้คุณ ๆ ได้อ่านกันในฉบับที่ 185 ถ้ามีคนตอบเข้ามาหา

ต่ายนะจ๊ะ

ชาวอะบอริจินที่อยู่ในคล�

ปตาม

หาแหล่ง

น้ํา

เมื่อยามกระหาย

ได้

น้ํา

จากสัตว์ชนิดใด

และ

น้ํา

ที่ได้มานั้นเปš

น้ํา

ที่มาจาก

อวัยวะส่วนใดของสัตว์ตัวนั้น ??

สำ

าหรับคำ

าถาม

ฉบับที่183

เป็นคำ

าถามที่คุณ ๆ จะตอบได้ก็ต่อ

เมื่อคุณ ๆ ได้ดูคลิปที่ต่ายแนะนำ

าแล้วเท่านั้น โดยต่ายขอถามว่า

สำ

าหรับคนที่สนใจเรื่องโครงสร้างของ

ผิวหนังของกิ้งก่ากับระบบการขนส่งน้ำ

ใต้ผิวหนังกิ้งก่า สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ในงานวิจัยเรื่อง

Moisture harvesting and

water tranport through specializedmicro-structure on the integument of lizards

แค่เปิดเว็บไซต์นี้ ก็สามารถอ่านได้ฟรี หรือแค่ดูภาพประกอบก็ได้ http://www.

beilstein-journals.org/bjnano/single/articleFullText.htm?publicId=2190-4286-2-24

เฉลยคำ

าถามฉบับที่ 181

ต่ายถามเกี่ยวกับเร�่

องปริมาณออกซิเจน ก็ไม่มีคนตอบเข้ามาอีกเช่นเคย เรทติ�

งตก! ไม่เปš

นไร ต่ายยังคงจะเขียนต่อไป จนกว่ากอง

บรรณาธิการจะบอกให้หยุด ^_^ ต่ายขอตอบเร�่

องนี้ให้คุณ ๆ กระจ่างกันเลย เพราะในอดีต ต่ายถูกสอนและให้จดจำ

าว่า ออกซิเจนที่เรา

หายใจนั้นมาจากพ�

ชในป†

า ดังนั้นการรักษาผืนป†

าจ�

งมีความสำ

าคัญมาก แต่การเรียนการสอนไม่บังเกิดผล เพราะป�

จจ�

บันนี้พบว่าพ�้

นที่

ป†

าทั่วโลกลดลงอย่างต่อเนื่อง นักวิทยาศาสตร์ศึกษาและพบมานานแล้วว่า ออกซิเจนที่ใช้หายใจกันบนโลกใบนี้ 28% มาจากป†

าไม้และ

70% ของออกซิเจนที่มีบนโลกได้มาจากพ�

ชชนิดต่าง ๆ ที่อยู่ในทะเล ส่วนที่เหลืออีก 2% ได้มาจากแหล่งอื่น ๆ จ้า

(ที่มา :

http://education.nationalgeographic.com/activity/save-the-plankton-breathe-freely/?ar_a=1

)

ปีที่ 41

|

ฉบับที่ 183

|

กรกฎาคม-สิงหาคม 2556

57