Previous Page  56 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 56 / 62 Next Page
Page Background

สวัสดีมิตรรักแฟนคลับต่าย

ต่ายยังคงต้อง

ย้ำ

ไปเรื่อย ๆ

ก่อนว่า นิตยสาร สสวท. แบบ electronic version คุณ ๆ

สามารถอ่านได้ที่

http://emagazine.ipst.ac.th/

และอีกเช่น

เดิม คลิปจาก Youtube ที่ต่ายภูมิใจนำ

�เสนอในครั้งนี้ มีชื่อ

ว่า

"Fish and frogs living out of water"

ผลิตโดย BBC

ประเทศอังกฤษ ซึ่งคุณ ๆ สามารถดูได้จาก

http://www.

youtube.com/watch?v=ZUsARF-CBcI

เป็นคลิปที่นำ

�เสนอ

เกี่ยวกับการปรับตัวของปลาปอด เมื่ออยู่ในสภาพที่ขาดน้ำ

ว่าการขาดน้ำ

�ที่ระดับความรุนแรงต่างกันปลาปอดทำ

�อย่างไร

บ้าง เพื่อทำ

�ให้ตัวเองสามารถดำ

�รงชีวิตอยู่ในสภาวะแวดล้อม

ที่ไม่เหมาะสม ความยาวของคลิปนี้อยู่ที่ 05:35 นาที คุณ ๆ

ไม่ว่าจะเป็นคุณครู นักเรียน ผู้ปกครอง และเด็ก ๆ จะได้รับ

ความรู้ ความสนุกและความตื่นเต้น ทึ่ง อึ้ง กันไปเลย

ต่ายคงต้องขอเล่าแบบสรุปไว้นิดหน่อยละกัน สำ

�หรับปลา

ปอด เมื่อขาดน้ำ

�ถ้าตัวมันไม่อยู่ในน้ำ

� มันก็จะอาศัยการฮุบ

อากาศเข้าปอดโดยตรง (เวลา 00:29 นาที) หรือถ้ายังแห้ง

แล้งมากขึ้น ก็จะอาศัยการกลืนโคลนเข้าไปในปากแล้วให้ผ่าน

เหงือก (เวลา 00:48 นาที) เพื่อทำ

�ให้เกิดการแลกเปลี่ยนแก๊ส

ผ่านความชื้นในโคลนที่กลืนเข้าไปนั่นเอง สุดท้ายถ้ายัง

แล้งไม่หยุดปลาปอดจำ

�เป็นต้องสร้างเมือกมาคลุมตัวเพื่อ

ป้องกันการสูญเสียน้ำ

�และความชื้นออกจากร่างกาย จากนั้น

ปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ ในร่างกายจะค่อย ๆ ลดการทำ

�งานลง

อยู่ในสภาพที่เราเรียกว่า "จำ

�ศีล" ฝังตัวอยู่ในดิน (เวลา 01:14

นาที) รอจนกว่าจะถึงเวลาที่มีน้ำ

�หลากมาอีกครั้ง

สภาวะแห้งแล้งในลักษณะเดียวกันก็เกิดขึ้นที่ตอนกลาง

ของทวีปออสเตรเลียเช่นเดียวกัน (เวลา 01:44 นาที) คลิป

นำ

�เสนอการปรับตัวของกบที่สามารถปรับตัวและอาศัยใน

โพรงใต้ดินได้นานถึง 7 ปี โดยไม่มีน้ำ

�เลย โดยกบทะเลทราย

จะลอกผิวหนังเก่าออกและผิวหนังใหม่จะถูกปรับสภาพให้

สามารถกันน้ำ

�ออกจากร่างกายได้ (เวลา 02:05 นาที) และ

พูดถึงกิ้งก่าหนาม หรือกิ้งก่าเขาหนาม หรือกิ้งก่าปีศาจเขา

หนาม (Thorny devil lizard) เมื่อโตเต็มที่จะมีความยาว

ประมาณ 20 เซนติเมตรเท่านั้นเอง สามารถดำ

�รงชีวิตโดยไม่

กินน้ำ

�เลยเป็นระยะเวลาเป็นปี ๆ ได้ เพราะว่ามันอาศัยว่าได้

น้ำ

�เล็ก ๆ น้อย ๆ จากตัวมดดำ

�ที่กินไปนั่นเอง นอกจากนี้มัน

ยังมีร่างกายที่ปรับตัวเป็นเลิศเพื่อให้ได้น้ำ

�มา โดยอาศัยแรง

ดึงน้ำ

�ที่เรียกว่า

capillary action

โดยผิวหนังทั่วลำ

�ตัวจะถูก

ปรับให้สามารถดูดซึมน้ำ

�เหมือนกระดาษชำ

�ระและลำ

�เลียง

ผ่านมาที่ปากได้ จากการศึกษาผิวหนังของกิ้งก่าชนิดนี้พบว่า

ผิวหนังจะประกอบด้วยสารที่กันน้ำ

� แต่มีร่องเล็กๆ จำ

�นวน

มากมายเพื่อให้น้ำ

�ไหลผ่านเข้าสู่ระบบโครงสร้างการลำ

�เลียง

น้ำ

�ใต้ผิวหนังเหล่านี้ นี่เป็นสิ่งที่ทำ

�ให้กิ้งก่าชนิดนี้สามารถ

อาศัยอยู่ในเขตแห้งแล้งได้ (เวลา 03:56 นาที)

QUIZ

ปลาปอด

นานาสาระ และข่าวสาร

นิตยสาร สสวท.

56