Previous Page  55 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 55 / 62 Next Page
Page Background

ในปี ค.ศ.1828 Abel ได้ล้มป่วยเป็นวัณโรค ซึ่งสมัยนั้นเป็น

โรคที่รักษาไม่หาย ความเป็นอยู่ที่ลำ

�บากและฐานะที่ยากจนทำ

�ให้

สุขภาพของ Abel ทรุดหนักในเวลาไม่นาน และในช่วงเวลา

เดียวกัน Crelle เพื่อนรักของ Abel ก็กำ

�ลังติดต่อหางานเป็น

อาจารย์ในมหาวิทยาลัยให้ Abel ทำ

�แต่ไม่ได้ผล

เมื่อใกล้จะถึงวันคริสต์มาส Abel ได้พยายามเดินทางไกล

ไปพบกับภรรยา หลังจากที่ต้องแยกกันอยู่ เพราะกลัวภรรยาจะ

ป่วยเป็นวัณโรค ความหนาวที่ทารุณได้ทำ

�ให้ Abel เจ็บหนักจน

รู้ตัวว่า ใกล้จะเสียชีวิตแล้ว

เมื่อถึงวันที่ 6 เมษายน ค.ศ.1829 Abel ก็เสียชีวิต ศพถูก

นำ

�ไปฝังที่ Froland ท่ามกลางพายุหิมะที่กำ

�ลังพัดรุนแรง

สองวันหลังจากที่ Abel จากโลกไป จดหมายจาก Crelle

ก็ได้มาถึงที่พักของ Abel เพื่อแจ้งว่า มหาวิทยาลัย Berlin ใน

เยอรมนี ได้รับAbel เข้าทำ

�งานแล้ว และในเวลาต่อมาเมื่อทราบ

ข่าวเสียชีวิตของ Abel นักปรัชญา Crelle ได้เขียนคำ

�สรรเสริญ

Abel ว่า เพื่อนรักของเขาคนนี้ เป็นอัจฉริยะนักคณิตศาสตร์ที่มี

จิตใจบริสุทธิ์ยิ่ง และเป็นคนถ่อมตัวมากจนหาคนเทียบเคียงได้ยาก

ในปี ค.ศ.1830 สถาบัน French Academy ได้มอบรางวัล

Grand Prix ด้านการวิจัยคณิตศาสตร์แก่ Abel หลังจากที่ได้เสีย

ชีวิตไปแล้ว ในฐานะผู้มีผลงานวิจัยที่มีคุณค่า และสำ

�คัญมาก

ทุกวันนี้วงการคณิตศาสตร์รู้จัก Abel’s theorem, Abel

transform, Abelian group, Abel's equation, Abel’s inequality

ฯลฯ

ในหนังสือ Abel’s Proof: An Essay on the Sources and

Meaning of Mathematical Unsolvability โดย Peter Pesic ที่

จัดพิมพ์โดย The MIT Press ในปี ค.ศ. 2003 Pesic ได้กล่าว

ถึงที่มาของวิธีที่Abel ใช้ในการพิสูจน์ทฤษฎีของเขาว่า

"นับเป็น

เวลานานแล้วที่ ใคร ๆ ก็คิดว่า ตามปกตินักเรขาคณิตจะฉลาด

กว่านักพีชคณิต แต่อัจฉริยะ เช่น Evariste Galois และ Niels

Abel ฯลฯ ก็ได้พิสูจน์ให้เห็นว่า พีชคณิตก็ยากไม่แพ้เรขาคณิต"

ประวัติศาสตร์ได้กล่าวถึงนักคณิตศาสตร์อาหรับในยุคกลาง

ว่า ได้เคยศึกษาสมการกำ

�ลัง n

a

n

x

n

+ a

n-1

x

n-1

+ a

n-2

x

n-2

+ … + a

0

= 0

เมื่อ

a

n

a

n-1

… a

0

เป็นจำ

�นวนที่รู้ค่า และ x เป็นจำ

�นวนที่ไม่

ทราบค่า สมการนี้จึงเป็นสมการกำ

�ลัง n

ในสมัยกรีกโบราณ นักคณิตศาสตร์ได้ศึกษากรณี n = 1

นั่นคือ สมการอยู่ในรูป

a

1

x + a

0

= 0

ซึ่งมีคำ

�ตอบ คือ

x = -a

0

/a

1

และถ้า

n = 2

สมการกำ

�ลังสอง จะอยู่ในรูป

a

2

x

2

+ a

1

x + a

0

= 0

ซึ่งมีคำ

�ตอบสำ

�หรับ

x

สองค่า คือ

ส่วนในกรณีที่ n = 3, 4, 5, … ก็มีชื่อเรียกว่า สมการกำ

�ลัง

3, 4 และ 5 ตามลำ

�ดับ

ในราว ค.ศ.1200 เมื่อคณิตศาสตร์ของชาวอาหรับได้แพร่

เข้าสู่อิตาลี นักคณิตศาสตร์อิตาลีจึงได้พยายามหาคำ

�ตอบ

สำ

�เร็จรูปของสมการกำ

�ลัง 3 จาก

a

3

x

3

+ a

2

x

2

+ a

1

x + a

0

= 0

และ

สมการกำ

�ลัง 4 จาก

a

4

x

4

+ a

3

x

3

+ a

2

x

2

+ a

1

x + a

0

= 0

แต่ก็ไม่มีใคร

ทำ

�ได้ จนกระทั่งถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 เมื่อ Niccolo Tartaglia

สามารถแก้สมการ

a

3

x

3

+ a

2

x

2

+ a

0

= 0

และ สมการ

a

3

x

3

+ a

1

x

+ a

0

= 0

ได้

และในเวลาต่อมา Giordano Cardano ได้นำ

�เทคนิคของ

Tartaglia ในการแก้สมการกำ

�ลังสาม จนได้สูตรสำ

�เร็จ ซึ่งเป็น

คำ

�ตอบที่ยุ่งและซับซ้อนมาก

สำ

�หรับสมการกำ

�ลังสี่

a

4

x

4

+ a

3

x

3

+ a

2

x

2

+ a

1

x + a

0

= 0

นั้น

Lodovico Ferrari ก็ประสบความสำ

�เร็จในการถอดหาค่า

x

ได้

เช่นกัน

เมื่อสมการกำ

�ลัง 3 และ 4 มีคำ

�ตอบ นักคณิตศาสตร์ทุก

คนในสมัยนั้น จึงมีความหวังว่า สมการกำ

�ลัง 5 ก็น่าจะมีคำ

�ตอบ

ที่เป็นสูตรสำ

�หรับ

x

ด้วย จึงได้เพียรพยายามหาสูตรมาเป็นเวลา

นาน ในทำ

�นองเดียวกับที่นักโบราณคดีได้พยายามหา “จอก

ศักดิ์สิทธิ์ของพระเยซู” ซึ่งถ้าใครพบ ชื่อของเขาก็จะดัง และยิ่ง

ใหญ่เป็นอมตะนิรันดร์กาล

ในที่สุด Abel ก็เป็นบุคคลแรกที่สามารถแสดงได้ว่า คำ

�ตอบ

ที่เป็นสูตรสำ

�เร็จของ

x

สำ

�หรับสมการตั้งแต่กำ

�ลัง 5 ขึ้นไป คือ

5, 6, 7, 8,..ไม่มี โดยใช้หลักการของ finite group theory

ดังนั้นในสายตาของทุกคน Abel จึงเป็นนักคณิตศาสตร์

ผู้อาภัพเพราะไม่ได้รับการยกย่องในยามมีชีวิตอยู่ และในที่สุด

ความยากจนก็ได้ทำ

� Abel ล้มป่วย จนต้องเสียชีวิต

หนังสือ Abel’s Proof ได้เล่าประวัติของอัจฉริยะอาภัพคนหนึ่ง

ซึ่งมีชีวิตทำ

�งานที่ค่อนข้างสั้นมาก แต่ชื่อเสียงก็ยังปรากฏมาจนทุกวัน

นี้ และจะตลอดไป เพราะที่กรุงออสโลในนอร์เวย์มีอนุสาวรีย์ของ Niels

Henrik Abel บนดวงจันทร์มีหลุมอุกกาบาตชื่อ Abel ในปี ค.ศ. 2002

รัฐบาลนอร์เวย์ได้จัดตั้งรางวัล Abel สำ

�หรับนักคณิตศาสตร์รุ่นเยาว์

ผู้มีผลงานโดดเด่นที่สุดของโลก และในวันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1926

รัฐบาลนอร์เวย์ได้ออกแสตมป์เป็นที่ระลึกในโอกาสครบรอบ 100 ปี

แห่งการเสียชีวิตของ Abel รวมถึงได้ออกเหรียญ 20 Kroner เพื่อเป็น

เกียรติแก่นักคณิตศาสตร์ผู้มีชื่อเสียงที่สุดของนอร์เวย์ด้วย

และ

บรรณานุกรม

Livio, Mario. (2005).

The Equation That Couldn't be Solved.

New York: Simon and Schuster.

ปีที่ 41

|

ฉบับที่ 183

|

กรกฎาคม-สิงหาคม 2556

55