Previous Page  50 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 50 / 62 Next Page
Page Background

องค์กรร่วมจัดการประชุม

องค์กรที่ร่วมจัดงานมีทั้งหน่วยงานภายในประเทศ

และต่างประเทศ โดยมี มูลนิธิต้นไม้สีเขียว เป็นหน่วยงาน

หลัก องค์กรร่วมจัดภายในประเทศ ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏ

เชียงใหม่ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.)

กรมฝนหลวงและการบินเกษตร ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ

และสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

(สสวท.) และองค์กรร่วมจัดจากต่างประเทศได้แก่ Yunnan

Province Meteorological Society ประเทศสาธารณรัฐ

ประชาชนจีน และ Queensland University of Technology

ประเทศออสเตรเลีย

กิจกรรมไหนน่าสนใจบ้าง

การประชุมในครั้งนี้จัดให้มีการบรรยายโดยวิทยากร

ทั้งในและต่างประเทศ การนำ

�เสนอผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

กับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศทั้งแบบปากเปล่าและแบบ

โปสเตอร์จากนักวิทยาศาสตร์ นักวิชาการ นักการศึกษา และ

นักศึกษาจากทั่วโลก โดยเฉพาะประเทศในแถบเอเซียแปซิฟิก

นอกจากกิจกรรมดังกล่าวแล้ว สสวท. ได้เชิญ Dr.Tony P.

Murphy ซึ่งเป็นผู้อำ

�นวยการโครงการ GLOBE สำ

�นักงาน

ใหญ่ ประเทศสหรัฐอเมริกา มาให้ความรู้ในการประชุมปฏิบัติ

การเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโดย

ใช้กิจกรรมของโครงการ GLOBE และเชื่อมโยงกับ STEM

Education ด้วย

Dr. Tony P. Murphy

ผู้อำ

�นวยการโครงการ GLOBE สำ

�นักงานใหญ่ ประเทศสหรัฐอเมริกา

สภาพอากาศและภูมิอากาศในเชิงวิทยาศาสตร์

(Science of Weather and Climate)

การนำ

�เสนอผลงานวิจัยในกลุ่มนี้จะเน้นที่สภาพอากาศ

และภูมิอากาศในเชิงวิทยาศาสตร์ การทำ

�งานวิจัยทาง

วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง โดยมีประเด็นที่สำ

�คัญดังนี้

การใช้โมเดลทำ

�นายสภาพอากาศและภูมิอากาศทางด้าน

ฟิสิกส์ (Physics of weather and climate models)

ลักษณะการเกิดมรสุมในแถบเอเซียตะวันออกเฉียงใต้

(Activity characteristics of Asian monsoons in South-

east Asia)

1

ประเด็นปัญหาทางด้านวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับสภาพอากาศ

และภูมิอากาศในเขตที่ราบสูงบริเวณละติจูด

ต่ำ

(Scien-

tific issues on weather and climate in low-latitude

plateau areas)

การศึกษาการใช้ทฤษฎีพื้นฐานและวิธีการใหม่ ๆ สำ

�หรับ

การทำ

�นายสภาพอากาศ (Study of the theoretical basis

and new methods for extended forecasting)

บทบาทของการเกิดละอองลอย (aerosol) ในบรรยากาศ

ต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Role of aerosol in climate

change)

หัวข้อหลักสำ

�หรับการประชุมในปีนี้ คือ

“อาเซี่ยนกับการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ”

โดยมีการนำ

เสนอผลงานวิจัยทั้งแบบปากเปล่าและแบบโปสเตอร์ แบ่งเนื้อหาออกเป็น 5 กลุ่มหลัก ได้แก่

นิตยสาร สสวท.

50