Previous Page  46 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 46 / 62 Next Page
Page Background

สื่อก�รเรียนกระตุ้นคว�มคิด

รัชดา ยาตรา

ทวินันท์ มาลา

นักวิชาการ สาขาโอลิมปิกวิชาการและพัฒนาอัจฉริยภาพฯ สสวท. / e-mail :

ryatr@ipst.ac.th

นักวิชาการ สาขาโอลิมปิกวิชาการและพัฒนาอัจฉริยภาพฯ สสวท. / e-mail :

tmala@ipst.ac.th

ของเล่นวิทย์ ประดิษฐ์ง่�ย

จุดประกายความคิดสร้างสรรค์

ของเล่นที่จะนำ

าเสนอในบทความนี้ หลายท่านอาจรู้จักและ

คุ้นเคยอยู่บ้าง เป็นของเล่นที่เรานำ

ามาใช้ประกอบการเรียนรู้ทาง

วิทยาศาสตร์ได้จริง ซึ่งคุณครูหรือผู้ปกครองสามารถจัดหาวัสดุ

อุปกรณ์ได้โดยง่ายจากสิ่งของที่มีอยู่ทั่ว ๆ ไปในชีวิตประจำ

าวัน

แล้วนำ

ามาประยุกต์หรือดัดแปลงให้เด็กได้ฝ

กประดิษฐ์ของเล่นทั้ง

2 ชิ้นต่อไปนี้ หากท่านพร้อมแล้ว มาลองทำ

ากันค่ะ

กล้องคาไลโดสโคป (Kaleidoscope) หร�

อ กล้องสลับลาย

ภาพที่เห็นในกล้องคาไลโดสโคป มาจากหลักการสะท้อนของ

แสง โดยแสงในกล้อง สะท้อนจากกระจกเงาแผ่นหนึ่งไปยัง

กระจกแผ่นอื่นทำ

าให้เกิดภาพที่เห็นมีรูปแบบต่าง ๆ เมื่อหมุน

กล้อง ภาพก็จะเปลี่ยนรูปแบบไปด้วย กล้องคาไลโดสโคปส่วน

ใหญ่ใช้กระจกเงาระนาบ วางทำ

ามุม 60 องศา ซึ่งทำ

าให้เกิดเป็น

ภาพที่เสมือนมีกระจกอยู่ 6 ด้าน เท่า ๆ กันทุกด้าน ดังนั้นครู

หรือผู้ปกครองอาจให้เด็ก ๆ ลองใช้กระจกเงาระนาบหลาย ๆ อัน

ลองทำ

ากล้องที่มีมุมต่างไปจากการวางมุม 60 องศา โดยอาศัย

หลักการคำ

านวณมุมในวงกลมทั้งวงมีค่า 360 องศา นอกจากนี้

ยังอาจเชื่อมโยงไปสู่การอธิบายในเรื่องเรขาคณิต เช่น สมมาตร

การสะท้อน

เราเชื่อว่าของเล่นกับเด็ก ๆ เป็นของคู่กัน เพราะของเล่น

นั้น ให้ทั้งความสนุกสนานและช่วยส่งเสริม ให้เด็ก ๆ เกิด

ความคิดสร้างสรรค์หากเราสามารถ เชื่อมโยงสิ่งที่เด็ก ๆ

เล่นอยู่นั้นให้เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ในชีวิตจริงได้

การใช้ค�

าถามที่กระตุ้น ให้เด็กเกิดการสังเกตของเล่น

ที่เล่นอยู่ สนทนาเกี่ยวกับหลักการท�

างานของของเล่น

นั้น จะเป็นการฝึกให้เด็กได้คิดวิเคราะห์อีกด้วย ดังนั้น

หากในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์เราได้น�

าของเล่น

มาช่วยกระตุ้นให้เด็ก ๆ เกิดความสนใจก็น่าจะดีไม่น้อย

ใช่ไหม ?

1

4

2

5

3

วัสดุอุปกรณ์

1. กระจกเงาหรือแผ่นโลหะขัดเงาที่สะท้อนภาพได้ดี หรือ

แผ่นสติ๊กเกอร์สีเงินมันวาวที่สะท้อนแสงได้ (แต่จะได้ภาพ

ไม่ชัดนัก) ขนาดประมาณ 14 เซนติเมตร x 3 เซนติเมตร

จำ

านวน 3 แผ่น

2. กระดาษไข หรือกระดาษฝ้าที่แสงผ่านได้และแผ่นพลาสติกแข็งใส

รูปร่างเหมือนฐานของตัวกล้อง

3. เศษพลาสติก หรือกระดาษสีต่าง ๆ ชิ้นเล็ก ๆ หรือจะใช้

ลูกปัดสีต่าง ๆ ก็ได้ใส่ลงในกล้องประมาณ 10-15 ชิ้น

4. เทปกาว และ กรรไกร

5. กระดาษแข็งใช้สำ

าหรับทำ

าตัวกล้องและฐานกล้อง

นิตยสาร สสวท.

46