Previous Page  47 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 47 / 62 Next Page
Page Background

วิธีประดิษฐ์

1. นำ

ากระจกเงาหรือแผ่นโลหะขัดเงาที่สะท้อนภาพได้ดี

หรือแผ่นสติ๊กเกอร์สีเงินมันวาวที่สะท้อนแสงได้ดี (แต่จะได้

ภาพไม่ชัดนัก) ขนาดประมาณ14 เซนติเมตร x 3 เซนติเมตร

3 แผ่น ประกบกันเป็นปริซึมฐานสามเหลี่ยมด้านเท่า

ให้ด้านสะท้อนแสงอยู่ด้านใน แล้วใช้เทปกาวพันให้ติดกัน

ดังรูปที่ 1 ถึง 3

2. นำ

ากระดาษไข หรือกระดาษฝ้า ที่แสงผ่านได้ ประกอบกับ

ฐานกล้อง ดังรูปที่ 4 ถึง 6

3. ตัดเศษพลาสติก หรือกระดาษสีต่าง ๆ เป็นชิ้นเล็ก ๆ หรือ

จะใช้ลูกปัดสีต่าง ๆ ก็ได้ ใส่ลงในฐานกล้องประมาณ 10-15 ชิ้น

แล้วปิดด้วยแผ่นพลาสติกแข็งใส ดังรูปที่ 7

4. พับตัวกล้องให้เป็นลำ

า แล้วนำ

าปริซึมจากข้อ 1 ใส่เข้าไป

ดังรูปที่ 8 ถึง 11 โดยมีช่องขนาดประมาณ 0.5 เซนติเมตร

ไว้มอง

5. ประกอบตัวกล้องและฐานกล้องเข้าด้วยกัน ดังรูปที่ 12

แล้วนำ

ากระดาษสี หรือปากกาเมจิกมาตกแต่งตัวกล้อง

ให้สวยงาม

(Periscope)

ใช้เป็นอุปกรณ์สะท้อนแสง หลักการของกล้องชนิดนี้เกิดจากการ

ใช้ความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของแสงเรื่องการสะท้อนแสง ซึ่ง

อธิบายว่า เมื่อแสงตกกระทบวัตถุ แสงจะสะท้อนเข้าสู่นัยน์ตา โดย

แสงตกกระทบที่กระจกซึ่งติดตั้งให้เอียงทำ

ามุม 45 องศา แล้วจะ

สะท้อนทำ

ามุม90 องศา ไปตกกระทบกับกระจกอีกบานหนึ่งที่เอียง

ทำ

ามุม 45 องศาในระดับสายตา และสะท้อนเข้าตาทำ

าให้เรามอง

เห็นภาพวัตถุที่เหนือกว่าระดับสายตาได้ โดยมีทิศทางเดียวกับ

ภาพจริง นอกจากนี้การทำ

าให้ลำ

ากล้องปริทรรศน์มีความยาวยิ่ง

มากจะทำ

าให้ได้ภาพยิ่งเล็กลง เนื่องจากแสงเดินทางไกลขึ้น

ในอดีตมีการใช้กล้องปริทรรศน์ในยามสงคราม เพื่อ

สังเกตการณ์ศัตรูในสนามรบ มีการใช้ในขณะปีนป้อม กำ

าแพง

หรือประกอบกับรถยนต์หุ้มเกาะ หลังจากนั้นได้มีการพัฒนา

กล้องปริทรรศน์ให้ซับซ้อนขึ้น เพื่อใช้ในเรือดำ

าน้ำ

า โดยเปลี่ยน

วัสดุสะท้อนแสงจากกระจกไปเป็นปริซึม สามารถปรับขยาย

ขนาดหรือย่อให้เล็กลงได้ รวมทั้งสามารถปรับความสูงของ

กล้อง เพื่อการมองเห็นในระดับความลึกตื้นที่แตกต่างกันได้

หรืออาจมองได้รอบทิศอีกด้วย

(ที่มา :

http://www.fotolibra.com/

gallery/49434/how-a-periscope-

works-illustration)

1

4

7

10

2

5

8

11

3

6

9

12

13

14

วิธีเล่น

ให้มองผ่านช่องที่เจาะไว้ด้านบนของตัวกล้องและหันส่วนฐาน

กล้องเข้าหาแหล่งกำ

าเนิดแสง ขณะมองให้หมุนกล้องไปช้า ๆ

ก ล้ อ ง เ พ อ ริ ส โ ค ป

กล้องเพอริสโคป หรือ

กล้อง

ปริทรรศน์

หรือที่เรียกอีก

อย่างหนึ่งว่า

กล้องตาเร�

นั้น เป็นเครื่องมือสำ

าหรับการ

สังเกตสิ่งต่าง ๆ ที่ไม่สามารถ

มองเห็นได้ในระดับสายตาของ

ผู้มอง ซึ่งอาจมีสิ่งกีดขวางการ

มองเห็น สามารถประดิษฐ์ได้ง่าย

โดยใช้กระดาษแข็งประกอบขึ้น

เป็นกล่อง และติดกระจกเงา ที่

มีขนาดเท่ากันสองแผ่น เพื่อ

ปีที่ 41

|

ฉบับที่ 183

|

กรกฎาคม-สิงหาคม 2556

47