

บูรณาการรวมทั้งจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำ
ากิจกรรม
ศูนย์ ละ 1 กิจกรรม เพื่อนำ
ามาถ่ายทอดหรือ workshop ให้กับ
ครูผู้ดูแลศูนย์ อื่น ๆ การอบรมครั้งนี้มีผู้ดูแลศูนย์ ต่าง ๆ
จำ
านวน 9 แห่งทั่วประเทศ รวมแล้วจะได้ทั้งหมด 9 กิจกรรม
โดยให้เวลาในการจัดกิจกรรมเพื่อแบ่งปันให้ผู้อื่น กิจกรรมละ 1
ชั่วโมงครึ่งแน่นอนว่าเมื่ออบรมเสร็จสิ้นแล้ว จะทำ
าให้ผู้ที่เข้ารับ
การอบรมครั้งนี้ได้เรียนรู้กิจกรรมจากผู้อื่นไปทั้งหมด8 กิจกรรม
รวมทั้งกิจกรรมของตนเองที่จัดเตรียมมา จะเห็นว่าการอบรม
ครั้งนี้ สสวท. จะทำ
าหน้าที่เพียงแค่คอยจัดสภาพแวดล้อมของ
การเรียนรู้ แต่ผู้เรียนจะทำ
าหน้าที่สอนกันเอง เรียนรู้กันเอง
กิจกรรมที่เกิดขึ้นจะมีความหลากหลายและเป็นกิจกรรมที่ผู้
เรียนเป็นผู้ค้นคว้าหามาเองตามความสนใจและความถนัด ด้วย
เวลาการอบรมเพียง 2 วันก็จะทำ
าให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึง 9
กิจกรรม ไม่ว่าจะเป็นการทำ
าป้ายไฟ Origami (พับกระดาษแบบ
ต่าง ๆ ) Magic Tube (ใช้หลอดต่อเป็นรูปทรงต่าง ๆ) นาฬิกา
แดด แฮ้วตักน้ำ
า ระบบนิเวศ ทำ
าพลุไฟ รูปปั้นจากไม้เทพทาโร
และกิจกรรมการตัดกระดาษ A4 ให้เป็นวงที่ใหญ่ที่สุด
จะเห็นว่าลักษณะการจัดกิจกรรมดังกล่าวเป็นวิธีที่ง่าย และ
ยังทำ
าให้ผู้เรียนได้เข้าถึงความรู้เป็นอย่างดี จากรูปแบบการ
อบรมครูตัวแทนศูนย์ ในลักษณะดังกล่าว
คุณครูกาญจนา
ตุ่นคำ
าแดง
หนึ่งในผู้เข้าร่วมกิจกรรมการอบรม ซึ่งเป็น
ผู้ดูแล
ศูนย์การเรียนรู้ โรงเรียนแม่ปะวิทยาคม จ.ตาก
ได้บอกเล่าถึง
การเข้าอบรม ครั้งนี้ว่าตนเองและ
ครูจุฑามาศ ประดิษฐ์
ซึ่งเป็น
ครูคณิตศาสตร์ของโรงเรียน
ได้นำ
ากิจกรรม
Magic Tube
หรือ
ทั้งการนำ
าการต่อหลอดในรูปทรงต่าง ๆ แล้วมาประกอบกันจน
เป็นชิ้นงานที่มีความหลากหลาย โดยใช้ทักษะการเรียนรู้จาก
คณิตศาสตร์และศิลปะมาเชื่อมโยง เพื่อสร้างรูปแบบตาม
จินตนาการ กิจกรรมนี้จะเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ได้อย่าง
ดีเยี่ยม และพัฒนาทักษะการเรียนคณิตศาสตร์ให้ผู้เรียน
สามารถนำ
าไปใช้ปฏิบัติได้จริง และเพื่อเป็นการประหยัดค่าใช้
จ่ายในการทำ
ากิจกรรม จะนำ
าหลอดที่ใช้แล้วมาใช้ในการทำ
า
กิจกรรมนี้ นอกจากจะประหยัดแล้ว ยังเป็นการนำ
าวัสดุเหลือใช้
มาใช้ให้เกิดประโยชน์ และลดจำ
านวนขยะในโรงเรียนอีกด้วย นี่
คือลักษณะกิจกรรมของศูนย์การเรียนรู้ชุมชน โรงเรียนแม่ปะ
วิทยาคม ที่นำ
ามาแบ่งปันให้ผู้เรียนศูนย์ อื่นได้เรียนรู้ไปพร้อม ๆ
กัน และเมื่อบทบาทของผู้ให้ความรู้จบลง ตนเองและเพื่อน ๆ
ก็ต้องทำ
าหน้าที่ในการเป็นผู้เรียนที่จะต้องเรียนรู้กิจกรรมอื่น ๆ ที่
เหลืออีก 8 กิจกรรม
ครูกาญจนา กล่าวว่า จากลักษณะกิจกรรมการอบรมแบบ
เรียนรู้และแบ่งปันนี้ ทำ
าให้ตนได้เรียนรู้ถึงกิจกรรมที่หลากหลาย
จากศูนย์การเรียนรู้ที่มีอยู่ด้วยกันตามภูมิภาคต่าง ๆ ซึ่ง
นอกจากจะได้รับความรู้แล้วยังเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ด้าน
วัฒนธรรม ทำ
าให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ในการใช้สื่ออุปกรณ์
จากสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบ ๆ ตัว และในการประยุกต์ใช้กิจกรรม
เหล่านี้ในศูนย์การเรียนรู้ของตนเอง ซึ่งอาจเลือกใช้บาง
กิจกรรมเพื่อให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของนักเรียน เพราะบาง
กิจกรรมอันตรายเกินไป เช่น พลุไฟที่ต้องมีการอัดดินป
น ส่วน
กิจกรรมการต่อป้ายไฟ ถึงแม้จะน่าสนใจแต่จำ
าเป็นต้องจัดซื้อ
อุปกรณ์ซึ่งอาจกระทบต่องบประมาณในการดำ
าเนินการ แต่ก็
พร้อมที่จะนำ
าความรู้ต่าง ๆ ไปขยายผลต่อไป ทั้งนี้หลังจากเสร็จ
หลอดมหัศจรรย์
มาแบ่งปัน
เพื่อน ๆ โดยได้ความรู้นี้มาจาก
การอบรมที่ศูนย์ SEAMEO
RECSAM ปีนัง ประเทศ
มาเลเซีย มีลักษณะเป็น
กิจกรรมการต่อหลอดที่
นำ
ามาปร ะยุกต์ ใช้ใน
รายวิชาคณิตศาสตร์ ที่
จะช่วยให้ผู้เรียนได้
รู้จักโครงสร้างของ
รูปทรงเรขาคณิต
ชนิดต่าง ๆ การ
หาปริมาตรและ
พื้นที่ผิว พร้อม
นิตยสาร สสวท.
44