

เกมคู่ซี้หกเหลี่ยมสามารถนำ
าไปจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้าง
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ในส่วนของการแก้
ปัญหา (Problem Solving) ส่งเสริมการคิดริเริ่มสร้างสรรค์
(Creative Thinking) และสามารถนำ
ามาจัดเป็นกิจกรรม เพื่อ
พัฒนาความรู้สึกเชิงปริภูมิ (Spatial Sense) ในด้านต่าง ๆ
เช่น
•
การประสานสัมพันธ์ทางสายตา (Eye-MotorCoordination)
นักเรียนจะได้รับการฝ
กใช้สายตาประสานกับทักษะการใช้มือใน
การจัดวางแผ่นเกมในตำ
าแหน่งต่าง ๆ
•
ความคงตัวในการรับรู้ (Perceptual Constant) นักเรียน
จะได้รับการฝ
กการรับรู้ว่าตัวเลขที่ต้องการนั้นอยู่ที่แผ่นไหน
และตัวเลขนั้นจะต้องเรียงชุดกันอย่างไร
•
การรับรู้ในตำ
าแหน่งของมิติ (Position-in-Space
Perception) นักเรียนจะได้รับการฝ
กให้จดจำ
าตำ
าแหน่งของ
ตัวเลขต่าง ๆ ในแต่ละชุด เพื่อวางแผนในการวางแผ่นตัวเลข
ตามเงื่อนไข
•
การรับรู้ถึงความสัมพันธ์เชิงปริภูมิ (Perception of
Spatial Relationships) นักเรียนจะได้รับการฝ
กการพิจารณา
ความสัมพันธ์การวางตำ
าแหน่งของตัวเลขในแต่ละแผ่นว่ามี
ความสัมพันธ์กันอย่างไร
เกมนี้สามารถนำ
าไปใช้จัดกิจกรรมกับนักเรียนตั้งแต่ชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยอาจกำ
าหนด
จำ
านวนคนที่เล่นเกม ดังนี้คือ
•
เล่น 1 คน เล่นเพื่อฝ
กทักษะ วัดความสามารถของ
ตนเอง
•
เล่น 2 คน เล่นเพื่อแข่งขันความสามารถกับผู้อื่น
(ใช้แผ่นเกมคนละชุด 1 ชุด มี 8 แผ่น)
•
เล่น 2 - 3 คน เล่นเพื่อฝ
กการทำ
างานเป็นทีม
ครูอาจพัฒนาแผ่นเกมคู่ซี้หกเหลี่ยมให้เป็นแบบอื่น ๆ เช่น
อาจใช้รูปสัตว์ 6 ชนิด (ชุดสวนสัตว์) รูปเรขาคณิต 6 แบบ
(ชุดรูปเรขาคณิต) สีต่าง ๆ 6 สี (ชุดสีสัน) มาแทนตัวเลข
1, 2, 3, 4, 5 และ 6 ก็ได้
ตัวอย่างแผ่นเกมคู่ซี้หกเหลี่ยม ชุดตัวเลข
•
วางแผ่นเกมคู่ซี้หกเหลี่ยมเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ จนได้รูปแบบ
ดังรูป โดยที่ด้านที่ชิดติดกันทุกด้าน ต้องมีตัวเลข ที่เหมือน
กัน และ เมื่อวางตามแบบนี้แล้วจะเหลือแผ่นเกม 1 แผ่น
•
ในระหว่างที่เล่นเกมนี้ ถ้าคิดว่าไม่สามารถวางแผ่นเกมคู่
ซี้หกเหลี่ยมรอบ ๆ แผ่นเกมแผ่นแรก ตามเงื่อนไขที่กำ
าหนด
ไว้ได้ ก็สามารถปรับเปลี่ยนแผ่นเกมแผ่นแรกที่วางไว้ได้่
าี่ เ่ นี้้ิู่่่่
ปีที่ 41
|
ฉบับที่ 183
|
กรกฎาคม-สิงหาคม 2556
41