

เรื่องเด่น
ประจ�
าฉบับ
วราภรณ์ ต. วัฒนผล
สุวิมล จรูญโสตร์
คงนิตา เคยนิยม
Science for Fun :
วิทยาศาสตร์ช่วยสืบ
ในงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เมื่อ
วันที่ 6–21 สิงหาคม 2556 ที่ผ่านมา สถาบันส่งเสริม
การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เป็นหน่วยงาน
หนึ่งที่ร่วมจัดกิจกรรม และน�
าผลงานไปจัดแสดงนิทรรศการ
ในงานดังกล่าวเป็นประจ�
าทุกปี กิจกรรมปฏิบัติการ (work-
shop) เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ได้รับความสนใจจากผู้เข้าร่วมงาน
อย่างล้นหลาม เพราะผู้เเข้าร่วมงานจะได้ฝึกทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ ลงมือปฏิบัติการด้วยตนเอง และสามารถ
น�
าความรู้หรือชิ�
นงานที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการ
สอน หรือปรับใช้ในชีวิตประจ�
าวันได้ด้วย
วิทยาศาสตร์ช่วยสืบ
เป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่ได้รับความ
สนใจจากผู้เข้าร่วมงานทุกปี ในปีนี้มีเนื้อหาความรู้เกี่ยวกับเรื่อง
กรด-เบส และการจำ
าแนกสาร เรามาเริ่มต้นพิสูจน์กันเลยดีไหม
ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมหาวิธีการพิสูจน์สินค้าตัวอย่างที่วาง
ขายอยู่ในตลาด ว่าสินค้าใดเป็นสินค้าปลอม โดยจัดเตรียม
อุปกรณ์ดังต่อไปนี้ สารตัวอย่าง 5-10 ตัวอย่าง (ขึ้นอยู่กับระดับ
ชั้นของผู้ทำ
ากิจกรรม) กระดาษลิตมัสสีน้ำ
าเงิน กระดาษลิตมัสสี
แดง จานสี ช้อนตักสาร สารละลายกรด สารละลายเบส น้ำ
า
หลอดหยดสาร แว่นขยาย กระดาษและดินสอสำ
าหรับบันทึกผล
จากนั้นใช้เวลาประมาณ 30 นาที เพื่อให้ผู้ร่วมกิจรรม
วางแผนและออกแบบการทดลอง เพื่อตรวจสอบสินค้าตัวอย่าง
โดยมีคุณครูหรือผู้ปกครองดูแลและให้คำ
าแนะนำ
า
เมื่อตรวจพิสูจน์ได้แล้วว่าสินค้าใดเป็นสินค้าปลอม คุณครู
หรือผู้ปกครองควรให้คำ
าแนะนำ
าเพิ่มเติมด้วยว่า ในการปฏิบัติ
งานทางนิติวิทยาศาสตร์ การตรวจพิสูจน์หลักฐานเพียงตัวอย่าง
เดียว อาจไม่เพียงพอที่จะใช้เป็นข้อสรุปได้ทันที จำ
าเป็นต้องใช้
ข้อมูลความรู้ทางวิทยาศาสตร์แขนงต่าง ๆ สนับสนุน เพิ่มน้ำ
า
หนักความน่าเชื่อถือมาประกอบการพิจารณาตัดสินคดีความ
หรือการลงข้อสรุป เช่น การถ่ายรูป การตรวจสถานที่เกิดเหตุ
การตรวจลายนิ้วมือแฝง การตรวจพิสูจน์ทางฟิสิกส์ การตรวจ
พิสูจน์ทางชีวภาพ งานตรวจเอกสาร
ก่อนเข้าสู่กิจกรรมเราอาจเริ่มต้นด้วยการนำ
ารูปภาพมาให้ผู้
ร่วมกิจกรรมได้ลองฝ
กทักษะการสังเกต ซึ่งเป็นทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานที่ทุกคนควรมี เป็นการ
อุ่นเครื่องก่อนก็ได้ โดยนำ
าภาพมาให้ดูในช่วงเวลาสั้น ๆ แล้วให้
บันทึกสิ่งที่เห็นในภาพให้ได้รายละเอียดมากที่สุด หรือตั้ง
คำ
าถามโดยเพิ่มระดับการสังเกตเพื่อเก็บข้อมูล
นักวิชาการ สาขา พสวท. และ สควค. สสวท. / e-mail :
wmuns@ipst.ac.thนักวิชาการ สาขา พสวท. และ สควค. สสวท. / e-mail :
sucha@ipst.ac.thนักวิชาการ สาขา พสวท. และ สควค. สสวท. / e-mail :
kkoie@ipst.ac.thนิตยสาร สสวท.
38