

หินตะกอน (sedimentary rock)
หินตะกอน
เกิดจากการผุพังอยู่กับที่ของหินที่โผล่อยู่บนพื้น
ผิวโลก กลายเป็นเศษหินหรืออาจจะละลายไปในตัวทำ
าละลาย
จากนั้นมีตัวกลางเช่น น้ำ
า ธารน้ำ
าแข็ง และลม พัดพาไปจากที่
เดิม ลงสู่แอ่งน้ำ
า ทะเล หรือมหาสมุทร แล้วสะสมตัวอยู่ที่นั้น
อาจมีสิ่งมีชีวิตที่ตายแล้วถูกทับถมอยู่ด้วย เมื่อเวลาผ่านไปชั้น
ของเศษหิน หรือตะกอนที่สะสมทับถมกันมาก ๆ เข้าก็จะแข็ง
ตัวกลายเป็นหินตะกอน
หินตะกอนสามารถจำ
าแนกประเภทได้
เป
น 2 ประเภท คือ หินตะกอนเน�้
อเม็ด (clastic sedimentary
rock)
และ
หินตะกอนเคมี (chemical sedimentary rock)
ตัวอย่างหินตะกอน เช่น หินทราย หินปูน
หินแปร (metamorphic rock)
หินแปร
คือ หินที่ถือกำ
าเนิดขึ้นภายในชั้นเปลือกโลก โดย
แปรสภาพมาจากหินเดิมที่อาจเป็นหินอัคนี หินตะกอน หรือ
หินแปรก็ได้ การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้เกิดขึ้นในสถานะของแข็ง
จากอุณหภูมิสูง ความดันสูง หรือทั้ง 2 ประการ
หินแปรสามารถ
จำ
าแนกได้เป
น 2 ประเภท คือ
หิ
นแปรมีริ้วขนาน (foliated
metamorphic rock)
และ
หินแปรไม่มีริ้วขนาน (non-foliated
metamorphic rock)
ตัวอย่างหินแปร เช่น หินไนส์ หินอ่อน
เฉลย
1. หินแกบโบร 2. หินแกรนิต 3. หินบะซอลต์ 4. หินพัมมิซ
5. หินทราย 6. หินดินดาน 7. หินกรวดมน 8. หินปูน
9. หินควอร์ตไซต์ 10. หินไนส์ 11. หินชนวน
12. หินอ่อน
บรรณานุกรม
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงศึกษาธิการ. (2554).
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1
กลุ่มสาระการเรียนรู
วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาป
ที่ 4-6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
33
หิน
ลักษณะ
ประโยชน์
หินไนส์
หินอ่อน
•
เม็ดแร่มีการเชื่อม
ประสานกัน
•
แร่สีเข้มเรียงตัวกัน
เป็นริ้วขนาน
•
มีความแข็ง และ
ทนทานมาก
•
มีแถบสีขาวดำ
า
สลับกัน
•
เนื้อหินเกิดจากการ
ตกผลึกใหม่
•
แปรสภาพมาจาก
หินปูน
•
มีลักษณะเม็ดแร่
คล้ายเกล็ดน้ำ
าตาล
•
มีสีขาว หรือ
สีขาวเทา
•
ใช้ทำ
าครกและโม่
•
ใช้ทำ
าหินประดับ
•
ใช้ทำ
าหินบด
•
ใช้ทำ
าหินประดับ
•
ใช้ทำ
าแผ่นปูพื้น
หรือผนัง
•
ใช้เป็นวัสดุทำ
าปุ
ย
และเคมีภัณฑ์
•
ใช้ทำ
ารูปแกะสลัก
หิน
ลักษณะ
ประโยชน์
หินทราย
หินปูน
•
เนื้อหินหยาบถูแล้ว
สากมือ
•
เนื้อหินประกอบ
ด้วยตะกอนทราย
•
อาจแสดงรอยชั้น
ให้เห็น
•
มีสีเหลือง
น้ำ
าตาล แดง
•
เนื้อละเอียดมองไม่
เห็นเม็ดตะกอน
•
มีสีขาว เทา หรือ ดำ
า
•
อาจพบซาก
ดึกดำ
าบรรพ์ในเนื้อหิน
•
ทำ
าปฏิกิริยากับกรด
•
ใช้แกะสลักเป็น
พระพุทธรูป
•
ใช้เป็นวัสดุในการ
สร้างโบราณสถาน
•
ใช้เป็นวัสดุในการ
สร้างถนน
•
เป็นหินกักเก็บน้ำ
ามัน
•
ใช้เป็นวัสดุทำ
าปุ
ย
และทำ
าสี
•
ใช้เป็นวัสดุในการ
สร้างทางรถไฟ
•
ใช้เป็นวัสดุในการ
สร้างถนน
•
ใช้ทำ
าปูนซีเมนต์ และ
ปูนขาว
ปีที่ 41
|
ฉบับที่ 183
|
กรกฎาคม-สิงหาคม 2556