Previous Page  37 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 37 / 62 Next Page
Page Background

สำ

าเร็จ! เห็นไหมคะ การสร้างทรงตันเพลโตไม่ยากอย่าง

ที่คิดใช่ไหมคะ ทรงสี่หน้าปรกติ ทรงแปดหน้าปรกติ ทรงสิบ

สองหน้าปรกติ และทรงยี่สิบหน้าปรกติ ก็สามารถสร้างได้โดย

ง่าย ถ้าเรารู้จำ

านวนของจุดยอด จำ

านวนของเส้นขอบ จำ

านวน

หน้า และลักษณะของรูปหน้า ของแต่ละชนิดของทรงตันเพล

โต ซึ่งลักษณะเหล่านี้ก็สามารถเห็นจากการสังเกตรูปของทรง

ตันเพลโตนั่นเอง ถ้าได้ทำ

ากับเพื่อน ๆ ในห้องเรียนจะสนุกมาก

แค่ไหน แต่การสร้างแบบจำ

าลองของทรงตันเพลโตอาจใช้

เวลาสะสมกระดาษหนังสือพิมพ์หลายวันเลยทีเดียว เราอาจ

ลองเปลี่ยนมาใช้หลอดและลวดกำ

ามะหยี่ สร้างแบบจำ

าลองทรง

ตันเพลโตก็ได้นะคะ หรือน้อง ๆ อาจประยุกต์ใช้วัสดุอื่น ๆ ที่

มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้สร้างทรงตันเพลโตก็ได้เช่นกัน

ป

ดท้ายด้วยภาพกิจกรรมสนุก ๆ ของครูผู้นำ

าคณิตศาสตร์

ที่ได้ทดลองทำ

ากิจกรรมนี้แล้ว ความสุขในการทำ

ากิจกรรม

สามารถสังเกตได้จากหน้าตาในภาพเลยค่ะ เป

นกิจกรรมที่ได้

ทั้งความสนุกสนาน เพลิดเพลิน แล้วยังได้ความรู้จริง ๆ ค่ะ

ครั้งหน้าเราจะนำ

ากิจกรรมที่สนุกไม่แพ้กิจกรรมนี้มาฝากอีกนะ

คะ สวัสดีค่ะ

ในเมื่อรู้จักกันแล้ว หน้าตาก็เห็นแล้ว รู้นะว่าอยากจะลอง

สร้างมันขึ้นแล้วสิ น่าตื่นเต้นจัง ไม่น่าจะยากใช่ไหม งั้นมา

ลองทำ

ากันเลยค่ะ เอาอุปกรณ์ที่หาง่าย ๆ ไม่ต้องลงทุนมาก

เช่น กระดาษหนังสือพิมพ์ กระดาษสมุดหน้าเหลือง หลอดดูด

และลวดกำ

ามะหยี่

สำ

าหรับในคราวนี้ เราเลือกสร้างแบบจำ

าลองของทรงหก

หน้าปรกติ หรือลูกบาศก์ ด้วยกระดาษหนังสือพิมพ์ เพราะ

เป็นวัสดุที่หาง่าย มีอยู่ทั่วไป โดยมีขั้นตอนการสร้างดังนี้

1. ม้วนกระดาษหนังสือพิมพ์

ห รื อ กร ะ ด า ษ ส มุดหน้ า

เหลืองให้มีลักษณะคล้าย

หลอด โดยม้วนจากมุมด้าน

หนึ่งไปยังมุมอีกด้านหนึ่ง

แล้วติดด้วยกาวหรือเทปใส

2. ตัดกระดาษหนังสือพิมพ์ที่ม้วนไว้ในข้อ 1. ให้มีความ

ยาวเท่ากัน ประมาณ 14 นิ้ว

3. สร้างแบบจำ

าลองทรงหก

หน้าปรกติ หรือลูกบาศก์บน

พื้นหรือบนโต๊ะ เริ่มต้นด้วย

ก า ร ติ ด ม้ ว น ก ร ะ ด า ษ

หนังสือพิมพ์เข้าด้วยกัน

ด้วยเทปกาวที่จุดยอด หลัง

จากนั้นต่อม้วนกระดาษหนังสือพิมพ์ไปเรื่อย ๆ โดยทรงหก

หน้าปรกติหรือลูกบาศก์ จะมีจำ

านวนหน้า 6 หน้า จำ

านวน

เส้นขอบ 12 เส้นขอบและจำ

านวนจุดยอด 8 จุดยอด แต่ละ

หน้าของลูกบาศก์เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส

บรรณานุกรม

James, G., & James, Robert C. (1992).

Mathematics dictionary.

New York: Chapman & Hall.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2553).

พจนานุกรมศัพท์คณิตศาสตร์ ฉบับ

ราชบัณฑิตยสถาน

(พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คพับลิเคชั่นส์.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงศึกษาธิการ.

(2556).

เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการครูผู

นํา กลุ่มสาระ

คณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาป

ที่ 1 – 3 โครงการยกระดับ

คุณภาพการรู

วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ UPGRADE ป

ที่ 3

(ฉบับทดลองใช

).

ปีที่ 41

|

ฉบับที่ 183

|

กรกฎาคม-สิงหาคม 2556

37