Previous Page  30 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 30 / 62 Next Page
Page Background

วัสดุอุปกรณ์

1. แผนที่แสดงเส้นชั้นความสูง

2. แผ่นใส

3. แผ่นโฟม

วิธีทำ

ากิจกรรม

1. วางแผ่นใสลงบนแผนที่แสดงเส้นชั้นความสูง แล้ววาด

เส้นชั้นความสูงลงบนแผ่นใส

2. ตัดแผ่นใสตามรูปทรงของเส้นชั้นความสูงวงนอกสุด

ทาบลงบนโฟมและลอกลายของเส้นชั้นความสูงลงบนแผ่นโฟม

จากนั้นใช้กรรไกรตัดเส้นชั้นความสูงวงนอกออกและลอกลาย

ของเส้นชั้นความสูงวงถัดมาลงบนแผ่นโฟม ทำ

าเช่นนี้จนครบ

จำ

านวนเส้นชั้นความสูงที่กำ

าหนดให้ จากนั้นใช้คัตเตอร์ตัดแผ่น

โฟมตามเส้นชั้นความสูงที่วาดไว้

3. นำ

าแผ่นโฟมที่ตัดเป็นรูปร่างตามเส้นชั้นความสูง มาซ้อน

ทับกันตามลำ

าดับ โดยอาศัยกฎเกณฑ์ของเส้นชั้นความสูงเป็น

หลักในการวาง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

ผู้ที่สนใจกิจกรรมนี้ขอเชิญเข้าร่วมกิจกรรมได้ในงานมหกรรม

วิทยาศาสตร์ฯ ซึ่งจะจัดในเดือนสิงหาคม 2556 นี้

ใบความรู้ ประกอบกิจกรรมการสร้างเส้นชั้นความสูง

ลักษณะ และกฎเกณฑ์ของเส้นชั้นความสูง

เส้นชั้นความสูง โดยทั่วไปมักกำ

าหนดช่วงความห่างของ

แต่ละเส้นชั้นความสูงเป็นเลขจำ

านวนเต็มง่าย ๆ เช่น 10, 20,

30, …, 100, 150, 200, … 500, 1000 เมตร

หน่วยเส้นชั้นความสูง มีค่าเป็นหน่วยความสูงที่อิงกับ

ระดับมาตรฐาน เช่น เมตรจากระดับน้ำ

าทะเลปานกลาง หรือ

เซนติเมตรจากหมุดสำ

ารวจมาตรฐานที่สร้างขึ้นมาเอง

เส้นชั้นความสูงเป็นเส้นแบ่งระหว่าง บริเวณที่มีความสูง

มากกว่า และบริเวณที่มีความสูงน้อยกว่า

เส้นขอบทะเลสาบและชายฝั

งในแผนที่ เป็นเส้นที่มี

ลักษณะเช่นเดียวกับเส้นชั้นความสูง

ในการสร้างเส้นชั้นความสูงให้อ่านง่าย มักมีเส้นหลัก

(index contour) แสดงด้วยเส้นที่เข้มกว่า และแสดงค่าระดับ

ความสูงเป็นตัวเลข

สีที่นิยมใช้เขียนเส้นชั้นความสูง คือสีน้ำ

าตาลและสีดำ

เส้นชั้นความสูง จะไม่แยกและไม่แตกจากกัน

เส้นชั้นความสูงเป็นเส้นที่ต่อเนื่องไม่หยุดในแผนที่ และ

เส้นชั้นความสูงจะมาบรรจบกันเสมอ

รูปร่างของเส้นชั้นความสูง จะคด โค้ง และเว้า

เส้นชั้นความสูงเส้นหนึ่งเป็นตัวแทนของระดับความสูงค่า

หนึ่งเท่านั้น

เส้นชั้นความสูงจะไม่ตัดกัน ในบริเวณที่เป็นหน้าผาเส้น

ชั้นความสูงจะชิดกันมาก

เส้นชั้นความสูงที่ลากผ่านทางน้ำ

า จะมีรูปร่างเป็นตัว V

หรือตัว U โดยฐานของตัว V และตัว U ชี้ไปทางบริเวณที่มีความ

สูงมากกว่า ทางน้ำ

าที่มีความลาดชันมากเส้นชั้นความสูงจะมี

รูปร่าง เป็นรูปตัว V และทางน้ำ

าที่มีความลาดชันน้อยเส้นชั้น

ความสูงจะมีรูปร่างเป็นรูปตัว U

ในทางกลับกัน หากเรามีแผนที่ภูมิประเทศอยู่ในมือ เราก็

สามารถจำ

าลองพื้นที่ที่สนใจออกมาเป็นรูปทรง 3 มิติ ได้เช่น

เดียวกัน

ดังกิจกรรมการสร้างภูมิประเทศจำ

าลองจากเส้นชั้น

ความสูง ดังนี้

รูปตัวอย่างเส้นชั้น

ความสูงบนแผนที่

บริเวณที่สนใจ

(มีตัวเลขแสดงค่า

ความสูงกำ

ากับ)

กิจกรรมประโยชน์จากเส้นชั้นความสูงทั้ง 2 กิจกรรมข้าง

ต้น นอกจากเป็นกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมทักษะการอ่านและ

ทำ

าความเข้าใจแผนที่แล้ว ยังเป็นกิจกรรมที่สนุก ทำ

าให้ผู้เรียน

มีความละเอียดรอบคอบ และช่างสังเกต ซึ่งสอดคล้องกับ

เนื้อหาสาระและกิจกรรมเรื่อง

แผนที่ ในหนังสือเรียน รายวิชา

เพิ่มเติม โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ (เล่ม 1) กลุ่มสาระการ

เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ตามหลักสูตรแกน

กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่จัดทำ

าโดย

บรรณานุกรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงศึกษาธิการ.

(2554).

หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1

กลุ่มสาระการเรียนรู

วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาป

ที่ 4-6 ตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551.

กรุงเทพมหานคร:

โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

4. ปากกาเขียนแผ่นใส

5. คัตเตอร์

6. กรรไกร

นิตยสาร สสวท.

30