Previous Page  25 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 25 / 62 Next Page
Page Background

บรรณานุกรม

Bell, Cathy. The Mythology of the Constellations. สืบค้นเมื่อ 29 สิงหาคม 2013, จาก

http://www.comfychair.org/~cmbell/myth/myth.html

Constellation of the Month: Orion. สืบค้นเมื่อ 29 สิงหาคม 2013, จาก

http://astronomicaluplands.blogspot.com/2011/01/constellation-of-month-

orion.html

Orion Mystery: The Piramids of Giza alignment. สืบค้นเมื่อ 29 สิงหาคม 2013, จาก

http://www.bibliotecapleyades.net/piramides/esp_piramide_8.

htm#The Orion Mystery1

Parada, Carlos. About the Greek Mythology Link. สืบค้นเมื่อ 29 สิงหาคม 2013, จาก

http://www.maicar/GML/AboutGML.html

การสังเกตกลุ่มดาวสว่าง. สืบค้นเมื่อ 29 สิงหาคม 2013, จาก

http://portal.edu.chula.ac.th/lesa_cd/assets/document/LESA212/1/sky_watch/bright_

constellation/bright_constellation.html

จันทร์ทิพย์ คาวัฒนา. (24 กรกฎาคม 2010). การหากลุ่มดาวนายพราน. สืบค้นเมื่อ 29 สิงหาคม 2013, จาก

http://school.obec.go.th/pccastro/chap

ter/5/59%20orion.html

จันทิมา สักการะ. (3 กุมภาพันธ์ 2013). เรื่อง กลุ่มดาวหมีใหญ่. สืบค้นเมื่อ 29 สิงหาคม 2013, จาก

http://web1.dara.ac.th/daraastro/data/DooDaew/

Constellation/Ursamajor/con-uma.htm

ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์. (2003). ชุดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์ LESA. สืบค้นเมื่อ 29 สิงหาคม 2013, จาก

http://www.lesacenter.com

ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์. (2008). เรื่องทรงกลมท้องฟ้า. สืบค้นเมื่อ 29 สิงหาคม 2013, จาก

http://www.vcharkarn.com/

varticle/41005

สมยศ แย้มสงวน. เรื่อง กลุ่มดาว. สืบค้นเมื่อ 29 สิงหาคม 2013, จาก

http://www.wt.ac.th/~somyos/headearth5.html

ภาพที่ 3 สามเหลี่ยมฤดูหนาว

ที่มา : ดัดแปลงจาก The LESA Project 2003

(www.lesaproject.com

)

สำ

�หรับกิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่จัดอยู่ในงานมหกรรม

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประจำ

�ปี 2556 ซึ่งใน

กิจกรรมนี้จะเน้นให้เด็กที่มาสังเกตกลุ่มดาวในภาพให้ใช้ความ

คิด และจินตนาการว่า เหมือน หรือ คล้ายคลึงกับอะไร

และใน

กิจกรรมนี้จะเน้นเพื่อปูพื้นฐานให้เด็ก ๆ ได้เข้าใจและนึกภาพ

กลุ่มดาวที่สังเกตง่าย หรือจากตำ

�นานที่ได้ยกตัวอย่างมาข้าง

ต้นก็สามารถบอกได้ว่าถ้าเด็ก ๆ เห็นกลุ่มดาวแมงป่องแล้วก็

จะไม่สามารถเห็นกลุ่มดาวนายพรานหรือกลุ่มดาวเต่าได้นั่นเอง

สำ

�หรับประโยชน์ของดวงดาวในสมัยที่เทคโนโลยียังไม่มี

บทบาทมากนัก เราอาศัยดวงดาวบอกฤดูกาล เพื่อเตรียมตัว

ทำ

�การเกษตรกรรม หรือ กรณีหลงป่า ก็ยังสามารถหาทิศการ

เดินทางและนำ

�ตัวเองออกมาจากป่าได้ นอกจากนี้ในกิจกรรม

ก็จะเพิ่มตัวช่วย เป็นแผนที่ดาวเข้าไปด้วย เพื่อที่จะช่วยให้เด็ก ๆ

ที่มาร่วมกิจกรรมได้ใช้งานจริง และช่วยให้เด็ก ๆ หากลุ่มดาว

ได้เร็วขึ้นและเพิ่มความสนุกในการร่วมกิจกรรมอีกด้วย ซึ่งจะ

ช่วยให้เด็ก ๆ จดจำ

�ตำ

�แหน่งของดวงดาวได้ง่ายและเร็วขึ้น

สามารถนำ

�ความรู้ที่ได้ไปทดลองบนท้องฟ้าจริงได้เลย

สาระน่ารู้

คุณรู้หรือไม่ว่าเราไม่สามารถมองเห็นกลุ่มดาวประจำ

�จักรราศีในเดือนนั้น ๆ ได้ เนื่องจากดวงอาทิตย์จะเคลื่อนที่ไปอยู่

ในกลุ่มดาวประจำ

�จักรราศีและจะตกไปพร้อมกันในทิศตะวันตก เช่น กลุ่มดาวสิงโต เป็นกลุ่มดาวประจำ

�ราศีสิงห์ ดังนั้นเมื่อ

ถึงเดือนสิงหาคม ดวงอาทิตย์จะเคลื่อนที่มาในกลุ่มดาวนี้จึงทำ

�ให้ไม่สามารถเห็นกลุ่มดาวสิงโตได้

25

ปีที่ 41

|

ฉบับที่ 183

|

กรกฎาคม-สิงหาคม 2556