

บรรณานุกรม
Neemo. ยามเมื่อดาวเดินถอยหลัง 1. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2556, จาก
http://www.horawej.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=282744&Ntype=3ดาวเคราะห์เดินถอยหลัง (Planets retrograde). สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2556, จาก
http://www.astrothailand.com/variousnews/variousnews-detail.php?variousnews_id=2&news_id=5&lang=thทำ
�ไมดาวเคราะห์จึงเดินถอยหลัง. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2556, จาก
http://www.urastro.beesigner.com/2547/writing65.htmlยืน ภู่วรวรรณ. การสังเกตที่โลกเป็นจุดศูนย์กลาง. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2556, จาก
http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet2/knowledge_math/geocentric.htmศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์. การเคลื่อนที่ถอยหลังของดาวอังคาร. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2556,
จาก
http://www.lesa.biz/media/flash/retrogradeสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงศึกษาธิการ. (2554).
หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
เล่ม 3 .
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
การมองเห็นดาวอังคารเดินหน้าหรือถอยหลัง ก็สามารถ
เกิดขึ้นได้เช่นเดียวกัน ดังภาพ 3 และ 4 ตามลำ
�ดับ
โดยสรุปแล้ว การมองเห็นดาวเคราะห์ไม่ว่าจะเดินหน้าหรือ
ถอยหลังขึ้นกับความเร็วและตำ
�แหน่งในการโคจรของโลกเมื่อ
เทียบกับดาวเคราะห์ดวงนั้นนั่นเอง
กลับมาที่กิจกรรม
“เมื่อดาวอยากพัก(ร)”
วัสดุอุปกรณ์มี
เพียงภาพวงโคจรของโลกและดาวอังคาร และเชือก 2 เส้น ซึ่ง
เราได้เตรียมวงโคจรของโลกและวงโคจรของดาวอังคารจำ
�ลอง
อย่างง่ายที่วาดลงบนผืนผ้าขนาดใหญ่ไว้ให้แล้ว โดยคำ
�นวณมา
จากการโคจรรอบดวงอาทิตย์จริง ๆ คือ โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
ครบ 1 รอบ ใช้เวลาประมาณ 365 วัน และดาวอังคารโคจรรอบ
ผู้ร่วมงานสามารถสนุกกับประสบการณ์
“ดาวพักร”
หรือ
ดาวถอยหลังได้โดยให้ผู้ที่เป็นดวงอาทิตย์ยืนตรงกลาง ส่วนผู้ที่
เป็นโลกและดาวอังคารจะเริ่มที่ตำ
�แหน่ง 0 ในวงโคจรของตน
ให้ผู้ที่เป็นดวงอาทิตย์จับเชือกที่ดึงระหว่างตนกับโลก 1 เส้น
และจับเชือกที่ดึงระหว่างตนกับดาวอังคารอีก 1 เส้น จากนั้น
โลกและดาวอังคารจะเดินไปตามตำ
�แหน่งต่าง ๆ บนผืนผ้าใบตาม
ดวงอาทิตย์ครบ 1 รอบ ใช้เวลาประมาณ 687 วัน และกำ
�หนด
ตำ
�แหน่งการโคจรเป็นช่วง โดยให้วงโคจรของโลกแบ่งเป็น 12
ช่วง ดังนั้นแต่ละช่วงจะห่างกัน 30 องศา และให้วงโคจรของ
ดาวอังคารแบ่งเป็น 22.5 ช่วง ดังนั้นแต่ละช่วงจะห่างกัน 16
องศา ดังภาพ 5 (ภาพจำ
�ลอง)
เสียงสัญญาณของผู้คุมกิจกรรม และให้
ผู้สังเกตด้านนอกเป็นผู้สังเกตว่าเกิดดาว
พักรเมื่อใด ซึ่ง
กิจกรรมนี้สอดคล้องกับ
การเคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห์ และการ
โคจรของดาวเคราะห์ ตามหนังสือเรียน
รายวิชาเพิ่มเติม โลก ดาราศาสตร์ และ
อวกาศ (เล่ม 3) กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ที่จัดทำ
�โดยสถาบันส่ง
เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(สสวท.)
ผู้ที่สนใจสามารถศึกษาเพิ่มเติม
ได้จากเอกสารดังกล่าว แล้วมาร่วมสนุกกัน
ในงานนะคะ
นิตยสาร สสวท.
28