Previous Page  58 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 58 / 62 Next Page
Page Background

นิตยสาร สสวท.

58

สวัสดีคุณ ๆ ที่รักของต่าย ณ ช่วงเวลาที่ต่ายเขียนต้นฉบับ

อยู่นี้ เป็นช่วงเวลาที่เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่มีศูนย์กลางอยู่ที่

อ.พาน จ.เชียงราย วันที่ 6 พฤษภาคม 2557 ด้วยความแรงของการ

สั่นสะเทือนสูงถึง 6.3 ริกเตอร์ (จากหน่วยวัดสูงสุดคือ 9) ซึ่ง

ทำ

�ให้เกิดความเสียหายแก่อาคารบ้านเรือน ถนนหนทาง และ

ยังก่อให้เกิดความหวาดกลัวและวิตกกั ง วล ไ ป ใ น เรื่ อง

ในอดีตแทบจะไม่มีการพูดถึงเนื้อหาเหล่านี้ในสาขาวิชาที่สอน

เกี่ยวกับพืชเลย ก่อนที่เราจะเข้าไปหาคำ

�ตอบกัน ต่ายอยากให้

คุณ ๆ ลองมองย้อนกลับไปเมื่อในอดีต เมื่อ 10-30 ปีก่อน

ใส่เนื้อหาเหล่านี้ลงไป เพราะ "ความลังเลไม่กล้าที่จะเปลี่ยน

อ๊ะ! ต่ายลืมตัวออกนอกประเด็นไป ขอย้อนกลับมาเรื่อง

ความรู้ใหม่ของพืชกันดีกว่า องค์ความรู้ที่ว่าก็คือ Plant

Neurobiology

เป็นการศึกษาชีววิทยาของระบบประสาท

พืช และเป็นศาสตร์ที่เกิดขึ้นมาตั้งแต่ประมาณ ค.ศ. 1990

โดยมีการประชุมวิชาการครั้งแรกใน ค.ศ. 2005 เป็นศาสตร์

ที่ต่อยอดของเรื่องการสื่อสารของพืช (Plant Communica-

tion) ซึ่งมีการทดลองและพิสูจน์จนมีตำ

�รามากมาย แต่การที่

จะยอมรับว่าพืชมีระบบประสาทและมีสมองนั้นคงเป็นเรื่อง

ยากสักหน่อย เนื่องจากเรายังยึดติดภาพ "สมอง" และ "เซลล์

ประสาท" ของสัตว์เป็นหลัก จึงทำ

�ให้ยังทำ

�ใจยอมรับในเรื่อง

นี้ไม่ได้ เหมือนกันการทำ

�ใจยอมรับเรื่องสิ่งมีชีวิตที่ไม่ต้องการ

ออกซิเจน สัตว์ที่สังเคราะห์ด้วยแสงได้ และการที่ลิ้นไม่มี

บริเวณของการรับรู้รส เป็นต้น

ต่ายอยากให้คุณๆ ได้ลองดูสารคดีที่ทำ

�เผยแพร่ในค.ศ.

2009 เรื่อง PureScienceSpecials : In themindof plants ใน

เว็บ

http://www.youtube.com/watch?v=tlxMjtrwHXM

แม้จะเป็นภาษาอังกฤษแต่ต่ายจะพยายามสรุปให้คุณ ๆ ได้

เข้าใจมากที่สุด

ต่ายเชื่อว่าทางกองบรรณาธิการจะให้พื้นที่

ในการบรรยายของต่ายเพิ่มมากขึ้น (อิอิ) สารคดีนี้นำ

�เสนอ

เรื่องราวจากปัญหาการตายของละมั่ง (Antelope) ชนิดหนึ่ง

ในแอฟริกา - เนื่องจากพืชสร้างสารพิษชนิดหนึ่งขึ้นมา

ชื่อ แทนนิน โดยปกติแล้วเจ้าสารชนิดนี้จะถูกสร้างขึ้นมาโดย

พืชเพื่อใช้ในการต่อต้านปรสิตและแมลงเท่านั้นและจะสร้าง

ในปริมาณไม่มาก สัตว์กินพืชจะกินพืชเหล่านี้ได้แบบสบาย ๆ

หายห่วงไม่ถึงกับ ต้องมากมายขนาดนี้ แต่นี่เกิดเหตุการณ์

ให้ตายหมด ทุกตัวกัน เลยทีเดียว

ล้มตาย

หรืออาจจะก้าวไม่ทันกับความเปลี่ยนแปลง" ก็เป็นไปได้

ที่ไม่คาดคิดขึ้นคือ พืชสร้างแทนนินมากกว่า

ต่าง ๆ มากมาย ต่ายขอแสดงความเสียใจกับครอบครัวของ

ผู้ประสบภัยแผ่นดินไหวขอเป็นกำ

�ลังใจให้ทุกท่านมีจิตใจที่เข้มแข็ง

และกลับมายืนหยัดต่อสู้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ

ได้อย่างรวดเร็วด้วยเทอญ สำ

�หรับฉบับนี้ต่ายจะมาเล่าเรื่องใน

วงการวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับต้นไม้ใบหญ้าให้คุณ ๆ ได้ตื่นเต้น

ไปพร้อม ๆ กันเลยทีเดียว คุณ ๆ เคยสงสัยไหมว่า ต้นไม้มี

การนอนหลับหรือไม่ ต้นไม้มีการสื่อสารพูดคุยกันหรือไม่

ต้นไม้มีระบบประสาทหรือไม่ต้นไม้ที่ถูกสัตว์กินพืชเข้ามา

รุมทึ้งจะร่วมมือกันฆ่าสัตว์กินพืชเหล่านั้นหรือไม่ อ้า!.....ต่ายเชื่อว่า

คุณ ๆ น่าจะตอบว่าไม่มี โดยเฉพาะคนที่เรียนวิทยาศาสตร์มาเนื่องจาก

ที่คนสอนวิทยาศาสตร์สอนให้เราเชื่อและรับรู้ว่าสิ่งมีชีวิตบนโลก

ต้องการออกซิเจน พืชเท่านั้นที่มีคลอโรฟิลล์ แผนที่ลิ้นที่แสดง

บริเวณของการรับรู้รสต่าง ๆ แต่ในปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์พบ

แล้วว่า...มีสิ่งมีชีวิตที่ไม่ต้องใช้ออกซิเจนอาศัยอยู่บนโลกด้วย

(ต่ายเคยเล่าไปแล้วในฉบับที่ 180) มีสัตว์หลายชนิดที่มีคลอโรฟิลล์

รวมทั้งสัตว์มีกระดูกสันหลัง (คุณ ๆ สามารถอ่านได้ในฉบับที่ 186)

และแผนที่ลิ้นที่แบ่งการรับรู้รสเป็นแถบ ๆ ได้ถูกยกเลิกไปแล้ว

กว่าที่เราจะยอมรับความรู้ใหม่ที่วงการวิทยาศาสตร์พบ

ไม่ใช่เรื่องง่าย มันเป็นเรื่องยากเย็นแสนเข็ญเพราะเป็นเรื่อง

ที่ต้องใช้เวลา และต่ายก็เชื่อว่า ยังคงมีหนังสือเรียนต่าง ๆ ที่ยังไม่ได้

ปกติถึง 4 เท่า เพื่อตั้งใจฆ่าสัตว์กินพืช เหล่านั้น