

เชื่อว่าหลายคนคงมีโอกาสได้ไปเที่ยวสวนสนุกกันมาบ้างแล้ว
และถ้าให้พูดถึงสวนสนุกคนส่วนใหญ่ก็มักจะนึกถึงแต่ความสนุกสนาน
เสียงกรีดร้องด้วยความตื่นเต้นระทึกใจ แต่สวนสนุกในแบบของ นักเรียน
ทุนพสวท. นั้นแตกต่างออกไป พวกเขาต่างให้ความสนใจกับวิทยาศาสตร์
ที่แฝงอยู่ในเครื่องเล่นนานาชนิด นับเป็นความสนุกสนานท้าทาย
ในแบบที่แตกต่าง
ดร. วิทยา กาญจนภูษากิจ จาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าธนบุรี ผู้ออกแบบกิจกรรมและตั้งโจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์
เล่าว่า กิจกรรมวิทยาศาสตร์ในสวนสนุกนี้นอกจากจะให้เด็กได้มาเล่น
เครื่องเล่นในสวนสนุก ได้ความสนุกสานแล้ว ทักษะอีกอย่างหนึ่ง
ที่นักเรียนจะได้ฝึกคือการคิด การประมาณอย่างมีเหตุผล
“วิทยาศาสตร์เป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวทั้งในเรื่องของธรรมชาติ
และเทคโนโลยี แน่นอนว่าวิทยาศาสตร์ต้องมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์
กับเทคโนโลยีเพราะเครื่องเล่นต้องใช้การเคลื่อนที่ ซึ่งการเคลื่อนที่
จะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยพลังงานไฟฟ้าขับเคลื่อนล้อหรือเป็นการดึง
อะไรบางอย่างขึ้นไปบนที่สูง เช่น เครื่องเล่นสกายโคสเตอร์จะ
มีสลิงดึงเครื่องเล่นให้ขึ้นไปบนที่สูง พอถึงจุด ๆ หนึ่งก็ปล่อยให้
ลงมาโดยธรรมชาติ จุดนี้ก็สามารถนำ
�มาตั้งคำ
�ถามได้ว่าพลังงาน
หรือกำ
�ลังที่ใช้ในการดึงเป็นเท่าไหร่ ตอนที่ปล่อยลงมาเสียพลังงาน
ไปเท่าไหร่ ”
51
ปีที่ 42 ฉบับที่ 188 พฤษภาคม - มิถุนายน 2557
รัชนันท์ เพชรจำ
�นงค์
ส่วนประชาสัมพันธ์ สสวท. / e-mail :
rpeth@ipst.ac.thท้าทายความคิดกับวิทยาศาสตร์
ในสวนสนุก
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ดำ
�เนินโครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.)โดยได้จัดค่ายวิทยาศาสตร์
ภาคฤดูร้อน สำ
�หรับนักเรียนทุน พสวท. ระดับมัธยมศึกษา
เป็นประจำ
�ทุกปี
กิจกรรมที่น่าสนใจอย่างหนึ่ งในค่ายวิทยาศาสตร์
ภาคฤดูร้อน สำ
�หรับนักเรียนทุน พสวท. ระดับมัธยมศึกษา
ที่เพิ่งจัดไปเมื่อเดือนเมษายน 2557 คือ
กิจกรรมวิทยาศาสตร์
ในสวนสนุก
ที่จัดขึ้น ณ สวนสนุกดรีมเวิลด์จังหวัดปทุมธานี
นักเรียนทุน พสวท. ถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อย ร่วมกันทำ
�กิจกรรม
แก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์ โดยหาข้อมูลจากการสังเกต ทดลองเล่น
และวิเคราะห์กลไกการทำ
�งานของเครื่องเล่นต่าง ๆ ภายในสวนสนุก
ดร. วิทยา เล่าถึง โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์ในสวนสนุก
เช่น “เครื่องเล่นรถบั๊มใช้พลังงานไฟฟ้าในการขับเคลื่อน เพดานมี
ศักย์ไฟฟ้าสูง ส่วนพื้นมีศักย์ไฟฟ้าตำ
� ทำ
�ให้กระแสไฟฟ้าไหลจาก
เพดานผ่านเสาที่ติดอยู่ด้านหลังของรถ ผ่านเข้ามอเตอร์แล้วลงสู่พื้น
ทำ
�ให้เป็นวงจรปิด รถบั๊มทำ
�งานโดยอาศัยหลักการการเปลี่ยน
พลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานจลน์ของรถ ให้หาปริมาณกระแสไฟฟ้า
ที่ไหลเข้าสู่รถแต่ละคันโดยประมาณ”
“นอกจากสนุกแล้วก็ได้ฝึกคิด ได้ความรู้ ไปด้วย เพราะ
เราได้เรียนสิ่งที่เป็นทฤษฎีจากในห้องเรียนมาแล้ว วันนี้มาฝึกทักษะ
จากประสบการณ์จริง”
นายจตุพล คำ
�มี นักเรียนชั้น ม.4 โรงเรียน
ยุพราชวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ กล่าว