

54
นิตยสาร สสวท.
กระนั้นการยอมรับเรื่อง quasicrystal ก็ยังไม่สมบูรณ์ แม้แต่
Linus Pauling ซึ่งเป็นนักเคมีรางวัลโนเบลเองก็ปฏิเสธว่า ผลึกควอไซ
มีในธรรมชาติ แต่เขาคิดว่า นักวิทยาศาสตร์ควอไซ (quasi-scientist)
ในโลกมีแน่ ค�
ำโต้แย้งจาก Pauling ผู้ได้รับรางวัลโนเบล 2 ครั้ง
ท�
ำให้ Shechtman รู้สึกท้อแท้ แต่เขารู้ว่าเขาคือผู้ชนะ แม้จะต้องเดิน
ทางไปอธิบายให้ Pauling ฟังนานเป็นชั่วโมงที่บ้านพักของ Pauling
ในเมือง Palo Alto ก็ตาม เขาก็ไม่สามารถเปลี่ยนใจ Pauling ได้
จนกระทั่ง Pauling ตายในค.ศ. 1994 เขาก็ยังคิดว่าquasicrystal ไม่มี
ในธรรมชาติ
ในค.ศ.1992 ที่ประชุมInternationalUnionofCrystallography
ได้ตกลงให้ค�
ำจ�
ำกัดความของผลึกใหม่จากค�
ำจ�
ำกัดความเดิมที่ว่า
รูปแบบการจัดเรียงอะตอมของผลึกต้องเป็นคาบ (period) สม�่
ำเสมอ
เป็นค�
ำจ�
ำกัดความใหม่ของผลึกว่า ผลึกคือของแข็งที่ต�
ำแหน่งของ
อะตอมในตัวมันแสดงรูปแบบการเลี้ยวเบนที่แยกชัด (discrete)
ยี่สิบเก้าปีหลังจากที่ Shechtman พบ quasicrystal ในเดือน
ตุลาคมค.ศ. 2011 เขาก็ได้รับข่าวว่าเขาคือผู้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมี
แต่เพียงผู้เดียว (เป็นที่น่าสังเกตว่า จากประวัติศาสตร์ของรางวัลโนเบล
สาขาวิทยาศาสตร์ตั้งแต่ปีค.ศ. 1900 ถึงปีค.ศ. 2011 คนที่ได้รับรางวัล
สาขาเคมีคนเดียวมี61%คนที่ได้รับรางวัลสาขาฟิสิกส์คนเดียวมี43%
และคนที่ได้รับรางวัลสาขาแพทย์คนเดียวมี 37% นี่แสดงว่า
ส�
ำหรับนักชีววิทยาและแพทย์ การจะพบองค์ความรู้ที่ส�
ำคัญมาก
คนเดียวเป็นเรื่องยาก แต่นักเคมีจะค้นพบอะไร ๆ ที่ส�
ำคัญเพียง
ปัจจุบันทฤษฎีของ quasicrystal ก�
ำลังก้าวหน้า เพราะนักวัสดุ
ศาสตร์ได้พบว่า เทคนิคค�
ำนวณที่เคยใช้ได้ผลในกรณีผลึกและ
อสัญฐานไม่สามารถน�
ำมาใช้ได้กับกรณีผลึกควอไซอีกต่อไป
ผลึกควอไซที่พบในธรรมชาติมีบ้างเป็นโลหะผสมระหว่าง
อะลูมิเนียม-ทองแดง-เหล็ก เป็นแร่อายุ 200 ล้านปีที่ภูเขา Koryak
ในรัสเซียตะวันออก
รูปที่ 3 แบบจ�
ำลองแร่ผลึกควอไซ (ที่มา :
www.electron.rmutphysics.com)
คนเดียวนั้นง่ายกว่า)