Previous Page  49 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 49 / 62 Next Page
Page Background

49

ปีที่ 42 ฉบับที่ 188 พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

ความน่าจะเป็นจากตารางทำ

�ให้ผลการแข่งขันควรมีลักษณะ ดังรูปตัวอย่าง

10 เส้นชัย

9

8

7

6

5

4

3

2

1

0 เริ่มต้น

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 หมายเลขรถ

จากแนวคิดของเกมรถแข่งความน่าจะเป็น เราสามารถตอบ

คำ

�ถามข้างต้นได้ดังนี้

1. รถหมายเลขใดไม่มีการเคลื่อนที่อย่างแน่นอน

ตอบ

รถหมายเลข 1 เราสังเกตได้ว่า

รถหมายเลข 1

จะ

ไม่เคลื่อนที่เลย

2. รถหมายเลขใดมีการเคลื่อนบ้าง

ตอบ

ดูจากผลของกิจกรรม แต่รถทุกคันยกเว้นรถ

หมายเลข 1 ควรมีการเคลื่อนออกจากจุดเริ่มต้น หากยังมีรถ

คันใดคันหนึ่ง (ยกเว้นรถหมายเลข 1) ยังไม่เคลื่อนที่ออกจาก

จุดเริ่มต้น ควรขยายเวลาของกิจกรรมนี้ออกไปอีก

3. รถหมายเลขใดมีโอกาสชนะมากที่สุด

ตอบ

รถหมายเลข 7

4. รถหมายเลขใดบ้างที่มีโอกาสชนะเท่า ๆ กัน

ตอบ

รถหมายเลข 2 กับรถหมายเลข 12

รถหมายเลข 3 กับรถหมายเลข 11

รถหมายเลข 4 กับรถหมายเลข 10

รถหมายเลข 5 กับรถหมายเลข 9

รถหมายเลข 6 กับรถหมายเลข 8

5. รถแต่ละคันต้องใช้การโยนลูกเต๋าอย่างน้อยกี่ครั้ง

จึงจะเข้าเส้นชัย และใช้การโยนลูกเต๋ามากที่สุดกี่ครั้ง

ตอบ

ดูจากผลของการทำ

�กิจกรรมจริง แนวคิดใน

เชิงทฤษฎีคือ ความน่าจะเป็นของการเคลื่อนที่ของรถ

หมายเลข A เท่ากับ r/N หมายความว่า รถหมายเลข A จะ

เคลื่อนที่ (โดยประมาณ) r ครั้ง จากการโยนลูกเต๋า N ครั้ง

นั่นหมายความว่า รถหมายเลข 7 ควรเข้าเส้นชัย (เคลื่อนที่

10 ครั้ง) หากมีการโยนลูกเต๋า 60 ครั้งโดยประมาณ

จากการทำ

�กิจกรรมนี้พบว่านักเรียนให้ความสนใจเป็นอย่าง

มากตอบเป็นเสียงเดียวกันว่าสนุกและเพิ่มความเข้าใจเกี่ยวกับ

ความน่าจะเป็นได้อย่างดี แม้ในช่วงเล่นเกมแรกๆ นักเรียนจะ

ยังไม่ค่อยเข้าใจ แต่เมื่อมีการซักถามนักเรียนจะนึกย้อนไปถึง

ผลจากการทำ

�กิจกรรมจริง และตอบคำ

�ถามจากผลที่เกิดขึ้นนั้น

อยากให้ครูลองนำ

�เกมรถแข่งนี้ไปลองเล่นกับนักเรียนดูบ้าง ได้ผล

อย่างไรนำ

�มาเล่าสู่กันฟังนะคะ