

- กำ
�หนดชื่อจุด B´ เป็น
ถนนเกษวดี
และเปลี่ยนชื่อจุด A เป็น
สี่แยกเกษ
หลังจากนั้นซ่อนจุด B จะได้ผลดังรูปที่ 1
45
ปีที่ 42 ฉบับที่ 188 พฤษภาคม - มิถุนายน 2557
รูปที่ 1
รูปที่ 3
รูปที่ 4
รูปที่ 2
2. สร้างตำ
�แหน่งร้านเกษมบัณฑิต ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออก
ของสี่แยกเกษ โดยอยู่ทางทิศใต้ของร้านเกษมอารมณ์ และอยู่
ห่างจากสี่แยกเกษ 1,200 เมตร ซึ่งจะเป็นระยะ 12 ซม. ของ
แผนผัง หาตำ
�แหน่งดังกล่าวได้โดยการเลื่อนขนานจุด
สี่แยกเกษ
ด้วยเวกเตอร์ของการเลื่อนขนานแบบเชิงขั้ว โดยระยะทางคงที่
12 ซม. ที่มุมคงที่ 0 องศา จะได้จุดที่แทนตำ
�แหน่งร้าน แล้ว
กำ
�หนดชื่อจุดเป็น
ร้านเกษมบัณฑิต
จะได้ผลดังรูปที่ 2
4. สร้างตำ
�แหน่งของร้านเกษาสวยสาขา 2 ซึ่งอยู่ห่างจาก
สี่แยกเกษ 900 เมตร และอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ
สี่แยกเกษ ซึ่งทำ
�ได้ดังนี้
- เลื่อนขนานจุด
สี่แยกเกษ
ด้วยเวกเตอร์ของการเลื่อน
ขนานแบบเชิงขั้ว โดยระยะทางคงที่ 9 ซม. ที่มุมคงที่ 135 องศา
จะได้จุด
สี่แยกเกษ´
ซึ่งเป็นตำ
�แหน่งร้านเกษาสวยสาขา 2
เปลี่ยนชื่อจุด
สี่แยกเกษ´
เป็นจุด
ร้านเกษาสวยสาขา 2
จะได้ผลดังรูปที่ 4
3. สร้างตำ
�แหน่งร้านเกษมอารมณ์ซึ่งมีร้านเกษมบัณฑิตอยู่
ทางทิศใต้ นั่นคือร้านเกษมอารมณ์อยู่ทางทิศเหนือของร้านเกษม
บัณฑิต ดังนั้นจึงสร้างเส้นตั้งฉากกับเส้นตรงถนนเกษรที่จุดร้าน
เกษมบัณฑิต ร้านเกษมอารมณ์จะอยู่บนเส้นตั้งฉากนี้
แต่ร้านเกษมอารมณ์อยู่ห่างจากถนนเกษวดีกับถนนเกษร
เท่า ๆ กัน ร้านเกษมอารมณ์จึงอยู่ในแนวเส้นแบ่งครึ่งมุม
ถนนเกษวดี สี่แยกเกษ ร้านเกษมบัณฑิต
ดังนั้นจึงสร้างเส้น
แบ่งครึ่งมุม
ถนนเกษวดี สี่แยกเกษ ร้านเกษมบัณฑิต
ตัดกับ
เส้นตั้งฉากข้างต้น จุดตัดจะเป็นตำ
�แหน่งของร้านเกษมอารมณ์
ในกรณีที่นักเรียนไม่ทราบว่าจุดที่อยู่ในแนวเส้นแบ่งครึ่งมุม
ดังกล่าวข้างต้นจะอยู่ห่างจากถนนเกษวดีและถนนเกษรเท่ากัน
นักเรียนสามารถใช้การสำ
�รวจหาตำ
�แหน่งของร้านเกษมอารมณ์
ได้โดยวัดระยะเพื่อหาตำ
�แหน่งที่น่าจะอยู่ห่างจากถนนทั้งสองได้
เท่า ๆ กัน หรือใช้การสำ
�รวจหาตำ
�แหน่งของจุดที่อยู่ห่างจากถนน
ทั้งสองเท่ากันแล้วสร้างข้อความคาดการณ์
จะได้ผลดังรูปที่ 3