

3.5 ถ้าต้องการค่าสถิติเพิ่มเติมเลือกให้เลือก Option จากนั้นเลือก
สถิติที่ต้องการ แล้วคลิกปุ่ม Continue
3.6 เมื่อดำ
�เนินการเสร็จแล้วจะปรากฏหน้าจอแสดงผลการ
วิเคราะห์ข้อมูล
การแปรผลข้อมูล Rank
ผลการวิเคราะห์นี้จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับจำ
�นวนกลุ่ม
ตัวอย่างในแต่ละกลุ่ม ผลรวมอันดับ (Sum of Ranks) และค่า
เฉลี่ยอันดับ (Mean Rank) ในแต่ละกลุ่ม ซึ่งจากข้อมูลจะเห็น
ว่ากลุ่มนักเรียนชายมีค่าเฉลี่ยอันดับสูงกว่านักเรียนหญิง
นอกจากปัญหาการวิจัยที่ผู้เขียนนำ
�มาเป็นตัวอย่าง
แล้ว ยังมีการผลการวิจัยอื่น ๆ ที่สามารถนำ
�สถิติ Mann-
Whitney U Test ไปใช้ในการวิจัยได้อีก เช่น การเปรียบ
เทียบสมรรถนะของนักเรียนในวิชาพลศึกษา การเปรียบเทียบ
การสอนของนักเรียนซึ่งอาจจะมีกลุ่มเล็ก ๆ ในการสอนวิชาต่าง ๆ
บทความนี้อาจจะนำ
�ไปเป็นทางเลือกหนึ่งในการใช้สถิติเพื่อ
การวิจัยสำ
�หรับการพัฒนาการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
และหวังว่าการทำ
�วิจัยจะเป็นเรื่องสนุกของครูมากขึ้น ส่วนสถิติ
นอนพาราเมตริกที่น่าสนใจอื่น ๆ ที่สามารถนำ
�มาใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูลเพื่อหาคำ
�ตอบของการวิจัยได้นั้น จะนำ
�เสนอในโอกาสต่อไป
บรรณานุกรม
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2550) .
เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย
(พิมพ์ครั้งที่ 10)
(ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม).กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิภา ศรีไพโรจน์. (2533) .
สถิตินอนพาราเมตริก
(พิมพ์ครั้งที่ 2)
กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ล้วน สายยศและอังคณา สายยศ.(2522).
สถิติวิทยาทางการศึกษา
(พิมพ์
ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช.
ผลการวิเคราะห์นี้เป็นส่วนที่สำ
�คัญ โดยพิจารณาที่
ค่าสถิติ Mann-Whitney U Test ซึ่งมีค่าเท่ากับ 33.50 และ
พิจารณาที่ค่า Asymp.Sig. ซึ่งมีค่า .047 โดยนำ
�มาเปรียบเทียบ
กับค่าระดับนัยสำ
�คัญทางสถิติเพื่อที่จะสรุปผลการวิจัย จากผล
การวิเคราะห์ พบว่า ค่า Asymp.Sig. มีค่าน้อยกว่าระดับนัยสำ
�คัญ
ที่ .05 นั่นหมายความว่าการทดสอบนี้มีความแตกต่างอย่างมีนัย
สำ
�คัญทางสถิติ หมายความว่า เวลาในการทดลองวิทยาศาสตร์
ของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงแตกต่างกัน
43
ปีที่ 42 ฉบับที่ 188 พฤษภาคม - มิถุนายน 2557