

21
ในองค์ความรู้ที่จะได้จากการท�
ำวุ้นกรอบนี้ก็มี อัตราส่วน
หรือการเทียบมาตราการชั่งตวงวัด นั่นคือ
ผงวุ้น 1 ช้อนโต๊ะ มีมวล 5 กรัม
ส่วนผสมใช้ 2 ช้อนโต๊ะก็มีมวล 10 กรัม
น�้
ำสะอาด1 ถ้วยตวง มีมวล 250 กรัม
น�้
ำตาลทราย 1 ถ้วยตวง มีมวล 200 กรัม
ในการละลายของสารนั้น เมื่อน�
ำส่วนผสมเข้ามาคนให้เข้ากัน
น�้
ำตาลทรายละลายในน�้
ำ และผงวุ้นจะไม่เรียกว่าละลายในน�้
ำ
เนื่องจากว่าผงวุ้นมีขนาดอนุภาคที่ใหญ่กว่า 10
-7
cm. ในการให้
ความร้อนแก่ส่วนผสมจะท�
ำให้ผงวุ้นหลอมตัวเหลวได้ง่าย จึง
ท�
ำให้ส่วนผสมทั้งหมดเข้ากันได้ดี สารผสมที่ได้ก็จะมีลักษณะเป็น
คอลลอยด์ เมื่อทิ้งไว้ให้เย็นจะแข็งตัว หลังจากนั้น น�
ำไปผึ่งลม
หรือแดด น�้
ำที่อยู่ในวุ้นบริเวณผิวของวุ้นจะระเหยออกไปเรื่อย ๆ
ท�
ำให้สารละลายน�้
ำตาลที่ผิววุ้นมีความเข้มข้นขึ้นเรื่อย ๆ
ยิ่งหลายวันขึ้นสารละลายน�้
ำตาลทรายก็ยิ่งเข้มข้นขึ้นจนกลาย
เป็นสารละลายน�้
ำตาลอิ่มตัวและเมื่อน�้
ำระเหยไปอีก น�้
ำตาลทราย
บางส่วนจึงไม่สามารถละลายอยู่ได้ ตกผลึกออกมาเกาะที่รอบ ๆ
ผิววุ้น ถ้าผู้สอนให้ผู้เรียนได้ลองไปค้นหาวิธีท�
ำวุ้นกะทิ หรือวุ้น
ธรรมดามาเปรียบเทียบกัน ผู้เรียนจะพบว่า ในวุ้นกรอบจะมี
ส่วนผสมที่มีความเข้มข้นของน�้
ำตาลสูงกว่าในวุ้นกะทิ อีกประการ
หนึ่งที่ผู้เรียนควรจะได้ท�
ำในกิจกรรมนี้คือให้ผู้เรียนได้ค�
ำนวณ
หาความเข้มข้นของสารละลายน�้
ำตาลในน�้
ำว่ามีความเข้มข้นเท่าใด
ในการขยายความรู้ให้ได้มากขึ้นกว่านี้ ผู้สอนอาจกระตุ้นให้ผู้เรียนได้
ทดลองหาสูตรที่อาจจะท�
ำให้วุ้นกรอบตกผลึกน�้
ำตาลออกมาได้เร็วขึ้น
โดยลองเพิ่มส่วนผสมของน�้
ำตาลให้มากขึ้นก็เป็นได้
ปรากฏการณ์ที่ 2 ท�
ำไมกระดาษไม่ติดไฟ
อีกปรากฏการณ์หนึ่งที่มักน�
ำมาเล่นให้พิศวงงงงวยกันก็คือ การน�
ำภาชนะกระดาษมาต้มน�้
ำ ส่วนมากนักเรียนจะคุ้นเคยมาก
ใคร ๆ เขาก็รู้กันอยู่ คราวนี้ลองอธิบายซิว่า ท�
ำไมกระดาษที่ใช้ต้มน�้
ำจึงไม่ไหม้ไฟ หรือติดไฟ ส่วนมากเลยตอบได้ และค�
ำตอบ
คงจะเป็นไปในท�
ำนองนี้ ว่า “น�้
ำที่บรรจุอยู่ในกระดาษจะได้รับความร้อนโดยการถ่ายโอนความร้อนจากไฟ ผ่านกระดาษ และ
ไปสู่น�้
ำ ท�
ำให้กระดาษมีอุณหภูมิไม่สูงจนถึงจุดสันดาป แต่ถ้าน�้
ำเดือดจนแห้งหมดแล้ว กระดาษก็จะมีอุณหภูมิสูงจนติดไฟได้”
ซึ่งเหมือนกับความเชื่อในการดูว่าหยกที่เราจะซื้อเป็นหยกแท้หรือเทียม โดยการน�
ำเส้นผมมาพันให้แนบกับหยก แล้วจุดไฟเผา
เส้นผมดู ถ้าเป็นหยกแท้ หยกจะเย็น เส้นผมจะไม่ไหม้ไฟ ซึ่งก็เป็นเหตุผลเดียวกับการใช้ภาชนะกระดาษต้มน�้
ำนั่นเอง
ถ้ามีข้อซักถามต่อไปว่า ถ้าเราน�
ำกระดาษมารองอยู่ข้างใต้เหล็กแล้วน�
ำมาวางตั้งบนไฟ กระดาษจะไหม้ไฟหรือไม่
ในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นนักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องความจุความร้อนจ�
ำเพาะ ซึ่งหมายถึงปริมาณความร้อนที่พอดี
ท�
ำให้สาร 1 หน่วยมวล มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นหรือลดลงจากเดิม 1 องศา มีหน่วยเป็น หน่วยของปริมาณความร้อนต่อหน่วยมวล
ต่อหน่วยองศา ในระบบ SI หน่วยความจุความร้อนจะเป็น จูลต่อกิโลกรัมต่อองศาเคลวิน ( J kg
-1
K
-1
) คราวนี้มาพิจารณาค่า
ของความจุความร้อนจ�
ำเพาะของสารแต่ละชนิดดูกัน