Previous Page  4 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 4 / 62 Next Page
Page Background

Space tourist

:

Dennis Tito

Nationality :

United States

Year :

2001

Duration of flight :

8 days

(Apr 28 – May 6)

Flight :

Launch : Soyuz TM-32

Return: Soyuz TM-31

Amount paid (USD) :

$20 million

Source of Wealth :

Investment management

(Wilshire Associates)

Space tourist

:

. Mark Shuttleworth

Nationality :

South Africa -----

United Kingdom ----

Year :

2002

Duration of flight :

11 days

(Apr 25 – May 5)

Flight :

Launch: Soyuz TM-34

Return: Soyuz TM-33

Amount paid (USD) :

$20 million

Source of Wealth :

Software - internet security

(Thawte)

ตอนปลายปี คริสต์ทศวรรษ 1990 บริษัทมีร์คอร์ป (Mir Corp)

ซึ่งเป็ นบริษัทเอกชนที่เข้ ามารับผิดชอบสถานีอวกาศมีร์

มีความประสงค์จะหาเงินเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายดูแลสถานีอวกาศ

จึงประกาศรับสมัครนักท่องเที่ยวอวกาศที่จะขึ้นไปยังสถานีอวกาศมีร์

4

ภายหลังวิกฤตด้านเศรษฐกิจของรัสเซีย อุตสาหกรรมด้าน

อวกาศของรัสเซียได้รับผลกระทบอย่างมาก องค์การอวกาศของ

รัสเซีย ต้องการเงินสดเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้นบริษัทกระจายเสียง

โตเกียว หรือทีบีเอสจึงยื่นมือเข้าไปช่วยเหลือโดยจ่ายเงิน 28 ล้าน

เหรียญสหรัฐเพื่อให้น�

ำนักข่าวชื่อ

โตโยฮิโร อากิยามา

(Toyohiro

Akiyama)

ขึ้นไปสู่สถานีอวกาศมีร์ ในปีค.ศ. 1990 อากิยามา

ขึ้นไปพร้อมนักบินอวกาศคนที่ 8 และกลับมาพร้อมนักบินอวกาศ

คนที่ 7 หลังการอยู่ในสถานีอวกาศมีร์ 1 สัปดาห์

อากิยามาได้ถ่ายทอดโทรทัศน์เป็นประจ�

ำแต่ละวันจากสถานี

อวกาศ และได้ทดลองทางวิทยาศาสตร์ ให้บริษัทหลายแห่งของ

รัสเซียและญี่ปุ่น เราอาจจะเรียกอากิยามาว่าเป็นนักธุรกิจ

ในอวกาศ แทนที่จะเป็นนักท่องเที่ยวอวกาศ เพราะบริษัทที่เขา

เป็นลูกจ้างออกค่าใช้จ่ายในการเดินทาง

ในปีค.ศ.1991

เฮเลน ชาร์มาน

(Helen Sharman)

นักเคมีชาวอังกฤษ ได้รับคัดเลือกจากผู้สมัคร 13,000 คน ให้เป็น

ชาวอังกฤษคนแรกที่จะขึ้นสู่อวกาศ โครงการนี้ชื่อว่า “โครงการจูโน”

โดยเป็นโครงการ ร่วมมือระหว่างสหภาพโซเวียตกับกลุ่มบริษัท

ในอังกฤษ โครงการจูโนไม่สามารถหาทุนให้พอเพียงได้ จึงเกือบ

ถูกยกเลิกแต่มีรายงานว่า

มิคาอิลกอร์บาชอฟ

(Mikhail Gorbachev)

นายกรัฐมนตรีสหภาพโซเวียตรัสเซีย มีค�

ำสั่งให้ด�

ำเนินโครงการ

ต่อไป ภายใต้งบประมาณของโซเวียต เพื่อผลประโยชน์ทางความ

สัมพันธ์ระหว่างประเทศ แต่เมื่อขาดการสนับสนุนจากฝั่งตะวัน

ตก จ�

ำเป็นต้องตัดการทดลองตามโครงการเดิมซึ่งต้องใช้ค่าใช้จ่าย

สูงออก ชาร์มานจึงขึ้นสู่ อวกาศโดยยานโซยุส ทีเอ็ม-12 ไปยัง

สถานีอวกาศมีร์ และกลับสู่พื้นโลกโดยยานโซยุสทีเอ็ม-11

สถานีอวกาศนานาชาติต้องรับนักท่องเที่ยวอวกาศ

ปรากฏว่ านักธุรกิจอเมริกันและอดีตเป็นนักวิทยาศาสตร์

ของเจพีแอล นามว่า

เดนนิส ติโต (Dennis Tito)

เป็นผู้สมัคร

รายแรก ต่อมาเมื่อรัสเซียตัดสินใจน�

ำสถานีอวกาศมีร์กลับสู่พื้นโลก

ติโตจึงได้เปลี่ยนการเดินทางขึ้นไปยังสถานีอวกาศนานาชาติแทน

ทั้งนี้เป็นข้อตกลงระหว่างบริษัทมีร์คอร์ปกับบริษัท สเปซ แอดเวน

เจอร์ส์ลิมิตเต็ด (Space Adventures, Ltd.) ซึ่งมีฐานอยู่ที่

สหรัฐอเมริกา เรื่องนี้ผู้บริหารระดับสูงขององค์การนาซาไม่เห็น

ด้วยตั้งแต่เริ่มต้นของสถานีอวกาศนานาชาติ เพราะไม่สนใจคน

แปลกหน้าขึ้นสู่อวกาศ อย่างไรก็ตามติโตขึ้นไปสู่สถานีอวกาศ

นานาชาติเมื่อวันที่ 28 เมษายน ปีค.ศ. 2001 อยู่ในอวกาศนาน

7 วัน กลายเป็นนักท่องเที่ยวอวกาศคนแรกที่จ่ายค่าตั๋ว 20 ล้าน

เหรียญสหรัฐตามด้ วยเศรษฐีนักธุรกิจคอมพิวเตอร์ ชาว

แอฟริกาใต้ชื่อ

มาร์ค ซัตเติลเวิร์ธ (Mark Shuttleworth)

ที่ขึ้นไปใน ค.ศ. 2002คนที่ 3 เป็นชาวสหรัฐชื่อ

เกรกอรี โอลเซน

(Gregory Olsen)

ขึ้นไปเมื่อปี ค.ศ. 2005 เขาเป็ น

นักวิทยาศาสตร์มีบริษัทผลิตกล้องถ่ายรูปที่มีความไวสูงส�

ำหรับ

งานพิเศษ โอลเซนวางแผนไว้ว่าจะท�

ำการทดลองหลายอย่าง รวม

ทั้งการทดสอบผลิตภัณฑ์ของบริษัทของเขาในอวกาศ โอลเซน

วางแผนที่จะขึ้นเร็วกว่านี้ แต่ต้องเลื่อนเพราะเหตุผลทางสุขภาพ