Previous Page  9 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 9 / 62 Next Page
Page Background

บรรณานุกรม

กรมทรัพยากรธรณี. สืบค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2557, จาก http://www.

dmr.go.th

ส�

ำนักแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา. สืบค้นเมื่อ 18 สิงหาคม 2557,

จาก

http://www.seismology.tmd.go.th/home.html

แผนผังส�

ำหรับประเมินขนาดแผ่นดินไหวตามมาตราริกเตอร์

(ที่มา:

http://earthquake.usgs.gov

)

ภาพการขุดร่องส�

ำรวจรอยเลื่อน

(ที่มา:

http://home.hiroshima-u.ac.jp/kojiok/QR/BCN2

)

9

มาตราแมกนิจูดโมเมนต์ (Moment magnitude scale)

M

W

ถูกพัฒนาโดยทอมัส แฮงค์ และ ฮิรูโอะ คานาโมริ

นักแผ่นดินไหววิทยาเพื่อท�

ำให้มีความแม่นย�

ำในการตรวจวัด

มากขึ้น โดยวัดขนาดจากโมเมนต์ของแผ่นดินไหว ซึ่งสามารถ

ค�

ำนวณได้จากมอดูลัสเฉือนของหินที่เกี่ยวข้องกับการเกิด

แผ่นดินไหว พื้นที่การแตกตามแนวรอยเลื่อน และค่าการ

กระจัดเฉลี่ยของรอยเลื่อน มาตราแมกนิจูดโมเมนต์นั้นเหมาะ

ที่จะใช้ กับแผ่นดินไหวระยะไกลที่มีขนาดใหญ่ ดังนั้นใน

ปัจจุบันจึงนิยมรายงานขนาดของแผ่นดินไหวเป็นแมกนิจูด

เมื่อสามารถตรวจวัดและบอกขนาดของแผ่นดินไหวได้

แล้ว สิ่งส�

ำคัญอีกอย่างหนึ่งที่ต้องทราบคือ แผ่นดินไหวจะเกิดขึ้น

ที่ไหน และเกิดขึ้นเมื่อไหร่ เทคโนโลยีในปั จจุบันนั้นไม่

สามารถท�

ำนายเวลาการเกิดที่แน่นอนได้ การท�

ำนายแผ่นดิน

ไหวสามารถคาดการณ์ช่วงเวลาการเกิดแผ่นดินไหวได้จาก

คาบอุบัติซ�้

ำของแผ่นดินไหวในแต่ละที่โดยการขุดร่องส�

ำรวจ

รอยเลื่อนและท�

ำการหาอายุของการเลื่อนตัวในแต่ละครั้ง

รวมทั้งข้อมูลสถิติการเกิดแผ่นดินไหวในอดีต เพื่อประมาณ

ช่วงเวลาการเกิดในครั้งต่อไป

อย่างไรก็ตามเมื่อเราไม่ทราบเวลาเกิดที่แน่นอนของแผ่นดินไหว

ทราบแต่ช่วงเวลาการเกิดคร่าว ๆ กับพื้นที่เสี่ยงภัยเท่านั้น อีกทั้ง

มนุษย์ยังไม่สามารถควบคุมไม่ให้เกิดแผ่นดินไหวได้ การเตรียม

พร้อมก่อนการเกิดแผ่นดินไหว รวมไปถึงการปฏิบัติตนที่ถูกต้อง

ในขณะเกิด และหลังเกิดแผ่นดินไหว เป็นสิ่งส�

ำคัญที่ควรต้อง

ศึกษาและท�

ำความเข้าใจ เพื่อให้เราสามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับ

ธรรมชาติได้อย่างมีความสุข