Previous Page  15 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 15 / 62 Next Page
Page Background

15

จากข้อมูล สามารถสรุปได้ว่า ผู้ต้องสงสัย ข อาจเป็นขโมย

เนื่องจากพบลายนิ้วมือทั้งลิ้นชักเก็บเงินต�

ำแหน่งที่ 1 ลิ้นชักเก็บเงิน

ต�

ำแหน่งที่ 2 ตู้เย็นต�

ำแหน่งที่ 1 และ ตู้เย็นต�

ำแหน่งที่ 2 ซึ่งถ้าผู้ต้อง

สงสัย ข อ้างว่าเป็นลูกค้า ย่อมไม่ควรพบลายนิ้วมือ ผู้ต้องสงสัย ข ที่

ลิ้นชักเก็บเงิน ส�

ำหรับลายมือบนกระป๋องน�้

ำอัดลมที่ไม่ตรงกับลาย

นิ้วมือของผู้ต้องสงสัยนั้น อาจจะเป็นลายนิ้วมือของเจ้าของร้าน

หรือเป็นของลูกค้าก็ได้ อย่างไรก็ตามการระบุตัวบุคคลที่เป็นขโมย

ในกิจกรรมนี้เป็นเพียงการเปรียบเทียบรูปแบบลายนิ้วมืออย่างง่าย

เท่านั้น ในทางนิติวิทยาศาสตร์นั้น การระบุตัวบุคคลจากลายนิ้วมือ

ยังต้องใช้เทคนิคอื่น ๆ ประกอบ เช่น การย้อมสารเรืองแสง

การค�

ำนวณหาเมตริกคล้าย การใช้เครื่องมืออื่นที่ซับซ้อนขึ้น

กิจกรรมเกี่ยวกับลายนิ้วมือที่ยกตัวอย่างมานี้ เป็นเพียงวิธีการ

สอนแบบหนึ่งที่มีการบูรณาการความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์

คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและกระบวนการทางด้านวิศวกรรมศาสตร์

เพื่อหาค�

ำตอบจากประเด็นปัญหาที่ก�

ำหนด ในการจัดการเรียน

การสอนจริงผู้สอนอาจปรับรูปแบบกิจกรรมหรืออาจให้นักเรียน

ต่อยอดเพื่อท�

ำโครงงานเกี่ยวกับเรื่องนี้ได้เช่นถ้าไม่ใช้cyanoacrylate

(จากกาว) แต่ใช้ ninhydrin erosin หรือสารอื่น ๆ แทน ผลจะ

เป็นอย่างไร หรือ ถ้าหาลายนิ้วมือบนวัตถุที่ท�

ำจากวัสดุต่างชนิดกัน

เช่น อะลูมิเนียม แผ่นพลาสติกใส แก้ว กระดาษแข็ง ความชัดเจน

ของลายนิ้วมือที่ปรากฏบนผิววัตถุจะเท่ากันหรือไม่อย่างไร นอกจาก

นี้นักเรียนอาจศึกษาผลของเวลาและอุณหภูมิที่มีผลต่อการปรากฏ

ลายนิ้วมือบนพื้นผิวของวัตถุจากปฏิกิริยาเคมีได้อีกด้วย

การวิเคราะห์เปรียบเทียบลายนิ้วมือจากวัตถุและลายนิ้วมือ

ของนาย ข เป็นดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ล�

ำดับ วัตถุหรือสถานที่เกิดเหตุ

ผลการวิเคราะห์

1

ลิ้นชักเก็บเงินต�

ำแหน่งที่ 1

ตรงกับนิ้วหัวแม่มือด้านซ้าย

2

ลิ้นชักเก็บเงินต�

ำแหน่งที่ 2

ตรงกับนิ้วหัวแม่มือด้านขวา

3

กระป๋องน�้

ำอัดลม

ไม่ตรงกับลายนิ้วมือใด ๆ

4

ตู้เย็นต�

ำแหน่งที่ 1

ตรงกับนิ้วก้อยด้านซ้าย

5

ตู้เย็นต�

ำแหน่งที่ 2

ตรงกับนิ้วนางด้านขวา

บรรณานุกรม

Ahmad, U. K., & Musa, A. (2002). Superglue fuming for the chemical enhancement.

Jurnal Teknologi, 36(

C)

,

83-91.

Ckena, M. K., & Newell, A. C. (2005). Fingerprint formation.

Journal of Theoretical Biology, 235,

71-83.

Gulick, G.. (2005).

Evaluatiion of superglue fuming. Evidence Technology Magazine.

March-April, 14-15.

Vasquez, J. A., Sneider, C., & Comer, M. (2013).

STEM lessen essentials: Integrating science technology engineering

and mathematics.

Portsmouth: Heinemann.

Sticky Fingers สืบค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2557, จาก

http://forensics.rice.edu/en/materials/activity_ten.pdf

- แฟ้มลายนิ้วมือนาย ข

หัวแม่มือ

หัวแม่มือ

มือขวา

มือซ้าย

นิ้วชี้

นิ้วชี้

นิ้วกลาง

นิ้วกลาง

นิ้วนาง

นิ้วนาง

นิ้วก้อย

นิ้วก้อย

ข)

รูปที่ 11 ภาพเปรียบเทียบลายนิ้วมือจากวัตถุ (ก) และบุคคลต้องสงสัย (ข)