

นิตยสาร สสวท.
48
- อนุสิทธิบัตร (Petty patent)
เป็นการให้ความคุ้มครอง
สิ่งประดิษฐ์ เช่นเดียวกับสิทธิบัตรการประดิษฐ์ แต่แตกต่างกัน
ตรงที่ความคิดสร้างสรรค์ที่มีระดับการพัฒนาไม่สูงมาก โดยอาจ
เป็นการประดิษฐ์คิดค้นขึ้นใหม่หรือปรับปรุงจากการประดิษฐ์
เดิมที่มีอยู่ก่อนเพียงเล็กน้อย
2.
การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Design Patent)
หมายถึง การให้
ความคุ้มครองความคิดสร้างสรรค์ที่เกี่ยวกับ การออกแบบรูปร่าง
ลวดลาย หรือสีของผลิตภัณฑ์ ที่มองเห็นได้จากภายนอก ซึ่ง
สามารถใช้เป็นแบบส�
ำหรับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม รวมทั้ง
หัตถกรรมหรืองานฝีมือในแบบต่าง ๆ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ แจกัน
ลายผ้า กล่องบรรจุภัณฑ์ รองเท้า นาฬิกา เสื้อผ้า เครื่องประดับ ฯลฯ
เงื่อนไขในการขอรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์
การออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ขอรับสิทธิบัตรได้ กฎหมาย
ก�
ำหนดว่า จะต้องมีคุณสมบัติครบทั้ง 2 อย่าง ดังต่อไปนี้
1. เป็ นการออกแบบผลิตภัณฑ์ ใหม่ คือ เป็นการ
ออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ยังไม่เคยมีหรือขายมาก่อน หรือยังไม่เคย
เปิดเผยในเอกสารสิ่งพิมพ์ใด ๆ ทั้งในและนอกประเทศมาก่อน
ไม่ว่าในรูปแบบใด
2. สามารถน�
ำไปใช้ประโยชน์ในการผลิตทางอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมหรือหัตถกรรมได้
เงื่อนไขในการขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์
การประดิษฐ์ที่
ขอรับสิทธิบัตรได้ กฎหมายก�
ำหนดว่า จะต้องมีคุณสมบัติครบทั้ง
3 อย่าง ดังนี้
1. เป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ (Novelty) คือ ยังไม่เคยมีจ�
ำหน่าย
มาก่อนหรือยังไม่เคยเปิดเผยรายละเอียดของสิ่งประดิษฐ์ใน
เอกสารสิ่งพิมพ์ใด ๆ ทั้งในและนอกประเทศมาก่อน ไม่ว่าใน
รูปแบบใด
2. มีขั้นการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น (Inventive Step) คือไม่เป็น
สิ่งประดิษฐ์ที่สามารถท�
ำได้ง่ายโดยผู้มีความรู้ในระดับธรรมดา
หรือการประดิษฐ์นั้นไม่สามารถท�
ำได้ง่ายโดยบุคคลที่มีความ
สามารถในระดับสามัญส�
ำหรับงานประเภทนั้น
3. สามารถน�
ำไปประยุกต์ใช้ทางอุตสาหกรรม (Industrial
Applicable) รวมทั้ง หัตถกรรม เกษตรกรรมและพาณิชยกรรมได้
การประดิษฐ์ที่ขอรับอนุสิทธิบัตรได้
กฎหมายก�
ำหนดว่า จะต้อง
มีคุณสมบัติครบทั้ง 2 อย่างดังนี้
1. เป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ (Novelty) คือ ยังไม่เคยมีจ�
ำหน่าย
หรือ ขายมาก่อน หรือยังไม่เคยเปิดเผยรายละเอียดของ
สิ่งประดิษฐ์ในเอกสารสิ่งพิมพ์ใด ๆ ทั้งในและนอกประเทศ
มาก่อน ไม่ว่าในรูปแบบใด
2. สามารถน�
ำไปประยุกต์ใช้ในทางอุตสาหกรรม (Industrial
Applicable) รวมทั้งหัตถกรรม เกษตรกรรมและ พาณิชยกรรมได้
2. งานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง หรือ
งานแพร่เสียงแพร่ภาพมีอายุ 50 ปี นับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้น
3. งานที่สร้างสรรค์โดยการจ้างหรือตามค�
ำสั่งของกระทรวง
ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ ให้มีอายุ 50 ปีนับ
แต่ได้สร้างสรรค์งานนั้น
4. งานศิลปประยุกต์ ลิขสิทธิ์มีอายุ 25 ปี นับแต่ได้สร้างสรรค์
งานนั้น
การแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์
ลิขสิทธิ์เป็นสิทธิที่เกิดขึ้นทันทีที่มีการสร้างสรรค์ผลงานโดย
ไม่ต้องจดทะเบียน อย่างไรก็ตามกรมทรัพย์สินทางปัญญามี
บริการรับแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลและรวบรวม
ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับงานลิขสิทธิ์ ซึ่งจะเป็นองค์ประกอบหนึ่ง
ในการพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิของเจ้าของลิขสิทธิ์ ทั้งยังเป็น
แหล่งข้อมูลส�
ำหรับผู้ที่ต้องการขออนุญาตใช้ลิขสิทธิ์ ให้สามารถ
ตรวจค้นเพื่อประโยชน์ในการติดต่อธุรกิจกับเจ้าของลิขสิทธิ์ได้
นอกจากนี้ เจ้าของลิขสิทธิ์อาจน�
ำหนังสือรับรองการแจ้ง
ข้อมูลลิขสิทธิ์มาใช้เป็นหลักประกันการกู้ยืมเงินกับธนาคาร
ในโครงการแปลงทรัพย์สินทางปัญญาเป็นทุนได้
การคุ้มครองลิขสิทธิ์ไม่ครอบคลุมถึงความคิดหรือขั้นตอน
กรรมวิธีหรือระบบหรือวิธีใช้งาน หรือแนวคิด หลักการ การค้นพบ
หรือทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์
ความหมายของทรัพย์สินทางอุตสาหกรรมแต่ละประเภท
สิทธิบัตร (Patent)
คือ หนังสือส�
ำคัญที่รัฐออกให้เพื่อ
คุ้มครองการประดิษฐ์หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Industrial Design)
ที่มีลักษณะตามกฎหมายก�
ำหนด ได้แก่ สิทธิบัตรการประดิษฐ์
สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ และอนุสิทธิบัตร
ผู้ทรงสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรมีสิทธิเด็ดขาดหรือสิทธิขาด
แต่ผู้เดียวในการแสวงหาผลประโยชน์จากการประดิษฐ์หรือ
จากการออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่ได้รับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิ์บัตร
นั้นภายในระยะเวลาที่ก�
ำหนด
ประเภทของสิทธิบัตร
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือสิทธิบัตรการประดิษฐ์และสิทธิ
บัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์
1.
การประดิษฐ์ (Invention Patent)
หมายถึง การให้
ความคุ้มครองด้านการประดิษฐ์คิดค้นเกี่ยวกับกลไก โครงสร้าง
หรือการคิดค้นกรรมวิธีในการผลิต การเก็บรักษา หรือการ
ปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ิ
ต