Previous Page  52 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 52 / 62 Next Page
Page Background

นิตยสาร สสวท.

52

52

แม้กราฟีนจะเป็นวัสดุที่บางที่สุดแต่ก็มีความแข็งแรงที่สุด

เพราะได้มีการพบว่า ถ้าน�

ำกราฟีนพื้นที่หนึ่งตารางเมตรมาท�

เปลญวณ แม้น�้

ำหนักของเปลจะเบากว่าน�้

ำหนักของหนวดแมว

แต่เปลก็สามารถรับน�้

ำหนักของแมวทั้งตัวได้โดยไม่ขาด

ส�

ำหรับสมบัติการน�

ำไฟฟ้าของกราฟีนนั้นก็ดีกว่าทองแดง

และน�

ำความร้อนก็ได้ดีกว่าเงินกับทองแดง ในด้านแสง แม้

กราฟีนจะโปร่งใสถึงระดับ 97% แต่มันก็ไม่ยอมให้อะตอมของ

แก๊สหรือของเหลวทะลุผ่านได้

Andrey Konstantin Geim เกิดเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ.

1958 ที่เมือง Sochi ในรัสเซีย (ปัจจุบันถือสัญชาติอังกฤษ-

เนเธอร์แลนด์) บิดาเป็นวิศวกรเชื้อชาติเยอรมัน ส่วนยายเป็น

คนยิว ด้วยเหตุที่สกุลระบุชัดว่ามีเชื้อชาติยิว ดังนั้น Geim จึงถูก

สังคมรัสเซียต่อต้านตั้งแต่ยังเป็นเด็ก Geim มีน้องชายคนหนึ่ง

เมื่ออายุ 7 ขวบ ครอบครัวได้อพยพไปที่เมือง Nalchik เพื่อให้

Geim ได้ เรียนในโรงเรียนที่มีการสอนเป็นภาษาอังกฤษ

เมื่อเรียนจบ Geim คิดจะไปศึกษาต่อที่สถาบัน Moscow

Engineering Physics แต่สอบเข้าไม่ได้ถึง 2 ครั้ง จึงไปเรียนต่อ

ที่ Moscow Institute of Physics and Technology แทน ใน

ปี ค.ศ. 1982 Geim วัย 24 ปี เรียนจบปริญญาโท อีก 5 ปีต่อมา

เรียนจบปริญญาเอกสาขาฟิสิกส์ของโลหะจาก Institute of

Solid State Physics แห่ง Russian Academy of Sciences

ที่ Chernogolovka Geim เล่าว่า ในช่วงที่จะท�

ำวิทยานิพนธ์

รู้ จักแกรไฟต์ มานานหลายพันปี แล้ ว

จากการใช้แกรไฟต์ท�

ำไส้ดินสอ เพราะแกรไฟต์ประกอบด้วย

ระนาบของอะตอมคาร์บอนที่เรียงกันหลายระนาบ โดยระนาบ

เหล่านี้มีแรงยึดเหนี่ยวที่ไม่มาก ดังนั้น แกรไฟต์จึงใช้ท�

ไส้ ดินสอส�

ำหรับเขียนหนังสือ เพราะ เวลาลากดินสอ

ไปบนกระดาษ อะตอมของคาร์บอนจะหลุดออกจากไส้ดินสอ

ไปติดบนกระดาษเป็นเส้นดินสอ ซึ่งถ้าใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดู

ที่เส้น เราก็จะเห็นอะตอมคาร์บอนเรียงซ้อนกันหลายชั้น แต่ใน

สมัยนั้นไม่มีใครสามารถแยกชั้นอะตอมของคาร์บอนออกมา

เป็นชั้นเดียวได้ หลายคนจึงมีความเห็นว่า การแยกชั้นอะตอม

ของสสารออกมาเหลือเพียงชั้นเดียวเป็นเรื่องที่ท�

ำไม่ได้ ดังนั้น

เมื่อ Geim และ Novoselov ประกาศการพบกราฟีน

ซึ่งประกอบด้วยอะตอมคาร์บอนเพียงชั้นเดียว โดยการน�

เทปใสทาบบนเส้นดินสอ แล้วลอกเทปออก เขาได้อัญรูปอีก

หนึ่งแบบของคาร์บอนที่แม้แต่เด็กอนุบาลก็สามารถ “สร้าง”

กราฟีนได้ เนื่องจากวิธีการง่ายมาก วัสดุรูปแบบใหม่ใน 2 มิติ

นี้มีแต่ความกว้างกับความยาวเท่านั้น สมบัตินี้ท�

ำให้อิเล็กตรอน

ในกราฟีน มีสมบัติที่แตกต่างจากอิเล็กตรอนในวัสดุอื่น ๆ ท�

ำให้

น�

ำไปใช้ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมความร้อน ฯลฯ

ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง

มนุษย์

แม้อิเล็กตรอนในกราฟีนจะเคลื่อนที่ในระนาบได้ดี แต่กราฟีน

ก็ไม่ได้เป็นวัสดุ 2 มิติ 100% เพราะในระบบ 2 มิติพลังงานของ

อิเล็กตรอนจะเป็นปฏิภาคตรงกับโมเมนตัมยกก�

ำลังสอง ดังนั้น

ความสัมพันธ์การกระจาย (dispersion relation) ของกราฟีน

จึงเป็นเชิงเส้น และสมการที่ใช้บรรยายการเคลื่อนที่ของ

อิเล็กตรอนในกราฟีนคือสมการ Dirac (มิใช่สมการ Schroed-

inger) ที่ใช้อธิบายฟิสิกส์ของอนุภาคที่มี spin1/2 ผลการวิจัยยัง

แสดงให้เห็นอีกว่า มวลยังผล (effevtive mass) ของอิเล็กตรอน

ที่พลังงานเฟอร์มิในกราฟีนมีค่าเป็นศูนย์ และอิเล็กตรอนมี

ความเร็วประมาณ 10 เมตร/วินาที ซึ่งคิดเป็น 1/300 ของ

ความเร็วแสงในสุญญากาศ การมีความเร็วสูงเช่นนี้ ท�

ำให้

นักฟิสิกส์สามารถใช้กราฟีนทดสอบทฤษฎี quantum electro-

dynamics ได้ในห้องทดลองขนาดเล็ก โดยไม่ต้องใช้เครื่องเร่ง

อนุภาคพลังงานสูงทดสอบ

ด้านนักฟิสิกส์ทฤษฎีพบว่า สมบัติของแกรไฟต์ขึ้นกับ

ธรรมชาติของพันธะ covalent ระหว่าง valence electron

ทั้ง 4 ของอะตอมคาร์บอน และในเพชรโอกาสการพบอิเล็กตรอน

จะมีค่ามากที่สุดในบริเวณระหว่างอะตอมคาร์บอน แต่กราฟีน

ซึ่งมี valence electron เพียง 3 อิเล็กตรอนในพันธะ covalent

กับอะตอมคาร์บอน 3 อะตอมที่อยู่ใกล้เคียง สถานะของ

อิเล็กตรอนในระนาบหกเหลี่ยมจึงเป็นแบบ -orbital และที่ตั้ง

ฉากกับระนาบเป็นแบบ -orbital สมบัติทางกายภาพของ

กราฟีน จึงขึ้นกับอิเล็กตรอน -orbital ในบริเวณใกล้พลังงาน

เฟอร์มิ (Fermi energy)

http://www.metallirari.com/prima-dellimmaginabile-il-grafene-arrivera-nelle-nostre-case/

σ

6