Previous Page  50 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 50 / 62 Next Page
Page Background

นิตยสาร สสวท.

50ิ

ติต

บรรณานุกรม

สงกรานต์ จิตสุกริภากร. The 7 Habits of Highly Effective People

สืบค้นเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2558, จาก.

https://www.stephencovey.com

/7habits/7habits.php,

http://www.prachasan.com/bookread/The8th

Habit.pdf.

ผู้มีคุณลักษณะทั้ง 7 ข้อข้างต้น ถือได้ว่าเป็นผู้มีประสิทธิผลในการท�

ำงานสูง สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับผู้อื่นได้

(Role model) และจะเป็นผู้สร้างแรงบันดาลใจ (Inspiration) ให้กับผู้อื่นได้ปฏิบัติตาม ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับการฝึกฝนตนเอง พยายาม

ปฏิบัติอย่างสม�่

ำเสมอจนเป็นนิสัย ซึ่งเป็นการสร้างภาวะผู้น�

ำตนเองขั้นพื้นฐานส่วนบุคคล ที่จะน�

ำไปสู่การพัฒนาส่วนรวมอื่น ๆ ต่อไป เช่น

การพัฒนาองค์กร ซึ่งจะน�

ำไปสู่การสร้างอุปนิสัยที่ 8 The 8th Habit from Effectiveness to Greatness จากประสิทธิผลสู่

ความยิ่งใหญ่ ที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับการกระตุ้นให้เราค้นหาพลังและศักยภาพที่แฝงอยู่ภายในตัวเรา ซึ่งยังไม่ได้รับการปลดปล่อยออกมา

พลังหรือศักยภาพเช่นนี้ Steven R. Covey เรียกว่า “เสียง” ซึ่งหมายถึง การที่เราจะแสดงวิสัยทัศน์ ความคิดเห็น ความสามารถ

ในการสื่อสารให้ผู้อื่นเห็นและคล้อยตาม ถือเป็นภาวะส�

ำคัญของผู้น�

ำองค์กร ซึ่งจะต้องเข้าใจในความต้องการของผู้อื่นก่อน ก่อน

จะน�

ำสิ่งเหล่ านั้นไปประยุกต์ ใช้ และสร้ างให้ เกิดประสิทธิผลในการบริหารองค์ กรและพนักงานในภาพรวมต่ อไป

การได้ลองปฏิบัติ แล้วรู้สึกเกิดความภาคภูมิใจ และมีความสุข ก็นับว่าประสบความส�

ำเร็จแล้ว หวังว่าการแบ่งปันความรู้เรื่องการ

พัฒนาตนเองในครั้งนี้ คงจะเกิดประโยชน์แก่ผู้อ่านไม่มากก็น้อย ลองน�

ำไปปฏิบัติกันดู เพื่อประโยชน์ต่อตัวเองและองค์กรของท่าน

ต่อไป

5. เข้าใจผู้อื่นก่อน แล้วจึงให้ผู้อื่นเข้าใจเรา (seek first

to understand, then to be understood)

อุปนิสัยข้อนี้ คือการที่เราจะต้องมีความพยายามเข้าใจคนอื่น

ก่อน เพราะการพยายามเข้าใจคนอื่นนั้นง่ายกว่าการที่จะท�

ำให้

คนอื่นมาเข้าใจเรา หลักการที่จะท�

ำให้เราเข้าใจคนอื่นได้ง่ายนั้น

จะต้ อง เริ่มต้ นด้ วยกา รฟั ง คือฟั งอย่ า งพยายามท�

ความเข้าใจ ฟังอย่างเห็นอกเห็นใจ (empathic listening) เมื่อ

เราเข้าใจเขา เราก็จะรู้ว่าเขาคิดอย่างไร มีพื้นฐานอย่างไร

เมื่อเป็นเช่นนั้นแล้ว การที่เราจะพูดเพื่อให้เขาเข้าใจในส่วนของ

เราก็จะเป็นเรื่องที่ง่ายขึ้น

6. ผนึกพลังประสานความต่าง (synergy)

เมื่อใดก็ตามที่คนเรามีโอกาสได้ร่วมท�

ำงานร่วมกับผู้อื่น ก็ควร

จะต้องยอมรับในความแตกต่างของการท�

ำงานของผู้อื่นด้วย ทั้ง

ความคิดและวิธีการ พยายามมองว่าความแตกต่างนั้นน่าจะ

มีประโยชน์มากกว่าโทษ และน�

ำข้อดีของความแตกต่างนั้นมาใช้

ประโยชน์ให้มากที่สุด โดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ

เรียนรู้ด้วยกันเพื่อท�

ำให้เกิดการพัฒนาการท�

ำงานที่ดีขึ้น

7. ฝึกฝนตนเองให้พร้อมเสมอ (sharpen the saw)

เมื่อคนเรามีความรู้ในระดับหนึ่งแล้ว แต่เราก็ควรจะต้อง

ขวนขวายหาความรู้ ใส่ตัวอยู่ตลอดเวลา เรียนรู้วิธีการคิด

การปฏิบัติ จากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว หากเมื่อใดที่

หยุดคิดและหยุดพัฒนาตนเอง ก็เหมือนกับคนที่ไร้ค่า ไม่รู้สึก

อยากได้ใคร่ดี คนอื่นก้าวแซงหน้าเราไปถึงไหนต่อไหนแล้ว แต่

เรายังยืนอยู่ที่เดิม ฉะนั้น จึงต้องพยายามฝึกฝนพัฒนาตัวเราเอง

เสมอ ด้วยวิธีการง่าย ๆ ดังนี้

7.1)

ดูแลสุขภาพทางกาย

เมื่อสุขภาพร่างกายแข็งแรง

จะคิด จะท�

ำอะไรก็สะดวกสบาย ไม่ต้องวิตกกังวลว่าจะมีปัญหา

ทางกายมาบั่นทอนการปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ

7.2)

บ�

ำรุงสมอง

โดยการอ่านหนังสือ ฟังสัมมนา ดูรายการ

ที่มีสาระเพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้

7.3)

ดูแลสุขภาพทางใจ

เช่น การนั่งสมาธิ ฟังเพลงที่ชอบ

ท�

ำจิตใจให้สงบ ไม่ฟุ้งซ่าน

7.4)

พัฒนาอารมณ์

รู้จักจัดการอารมณ์ตนเองอย่างเหมาะสม

รู้จักอารมณ์ความรู้สึกของผู้อื่น เข้ากับคนอื่นได้ง่าย โดยเฉพาะ

ความสัมพันธ์กับคนใกล้ชิดและคนในครอบครัว