

นิตยสาร สสวท.
46ิ
ต
เราจะปรับวิธีการเรียนการสอนอย่างไร
ปัญหาในการจัดการเรียนการสอนในบ้านเราส่วนหนึ่งเกิด
จากผู้บริหาร ไม่มีความเข้าใจในศาสตร์เฉพาะด้าน แต่มักเอา
ความคิดของตัวเองท�
ำเป็นนโยบาย แล้วให้ระดับปฏิบัติงานน�
ำ
ไปด�
ำเนินงาน ซึ่งอาจจะไม่สอดคล้องกับกระบวนการผลิตและ
กระบวนการคิดเพื่อบรรลุเป้าหมายในหลักสูตรนั้น ๆ หรือ
บางครั้งก็วัดผลส�
ำเร็จที่การใช้งานอุปกรณ์ชั้นสูง แต่ไม่ใส่ใจเรื่อง
ความพร้อมของผู้สอนและซอฟต์แวร์ที่จะน�
ำไปใช้ ท�
ำให้ผลที่ได้
รับไม่สามารถสร้างบุคคลากรที่มีความรู้ได้ตามวัตถุประสงค์ของ
วิชานั้น ๆ
คราวนี้เรามาดูแนวทางและวิธีการที่สามารถน�
ำไปปรับปรุง
วิธีการเรียนการสอนของเราให้ได้ผลสัมฤทธิ์ที่แท้จริง โดยที่มี
เป้าหมายให้ผู้เรียนรู้มีความเข้าใจในกระบวนการและสามารถน�
ำ
เอาไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากกว่าการเรียนรู้ในวิธี
การใช้เครื่องมือแต่ไม่รู้ว่าจะใช้เครื่องมือเมื่อไร หรือไม่รู้จัก
วิธีการประยุกต์เครื่องมือเอาไปใช้ในงาน ซึ่งโดยปกติแล้ว
การเรียนการสอนด้วยเครื่องมือของ Adobe มีหลักสูตรให้กับ
ผู้สอน และสถาบันการศึกษาสามารถเข้าไปดาวน์โหลด หรือ
สมัครเข้าไปใช้หลักสูตรได้ที่ ADOBE EDUCATION EXCHANGE
โดยไปที่เว็บไซต์
https://edex.adobe.comสามารถน�
ำ
หลักสูตรและตัวอย่างโครงงานที่จะให้ผู้เรียนปฏิบัติไปใช้ได้เลย
หลักสูตรที่ Adobe ได้ท�
ำขึ้นมานี้ เป็นหลักสูตรที่ผู้เขียนได้
รับเชิญไปร่วมให้ความเห็น และให้ข้อเสนอแนะกับทีมงาน
การศึกษาของ Adobe ที่ส�
ำนักงานใหญ่ของ Adobe ที่เมือง
ซานโฮเซ่ เกือบ 10 ปีมาแล้ว เพื่อวางแนวทางการสอนในระดับ
K-5 ถึง K-12 ซึ่งปัจจุบัน Adobe ยังยึดแกนเดิมของหลักสูตร
นั่นคือเป้าหมาย และกระบวนการเดิมไว้ ส่วนรายละเอียดได้
ถูกปรับไปตามพัฒนาการของซอฟต์แวร์ที่มีการพัฒนาไปอย่าง
ไม่หยุดนิ่ง ประสบการณ์ที่ได้รับในครั้งนั้นผู้เขียนได้น�
ำมา
ประยุกต์ในการสอนระดับอุดมศึกษาบ้านเราทั้ง ๆ ที่เป็น
หลักสูตรระดับมัธยมปลายเท่านั้น แต่เนื่องจากบ้านเรานักศึกษา
ส่วนใหญ่จะมาจากสายสามัญ จึงไม่ได้รับการเรียนรู้ในเรื่องเหล่านี้
มาก่อน เมื่อสอบเข้าในระดับอุดมศึกษาจึงมาเริ่มต้นใหม่ท�
ำให้
การเรียนในระดับอุดมศึกษาในบ้านเรากลายเป็นการมาเริ่มต้น
ใช้งานคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ แทนที่จะเรียนเรื่อง
ความคิดสร้างสรรค์และน�
ำเครื่องมือมาประยุกต์ใช้ได้ทันที ก็ต้อง
มาเรียนพื้นฐานท�
ำให้ส่งผลไปถึงการคิดงานการสร้างงานที่ไม่
สามารถท�
ำได้เต็มที่ เพราะยังไม่เชี่ยวชาญในการใช้งานเครื่องมือ
ผู้เขียนได้รับโอกาสดีในปี พ.ศ. 2557 โดยได้ไปสอนที่
โรงเรียนสตรีนนทบุรี ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จึงได้น�
ำ
เอาหลักสูตรที่ท�
ำไว้ส�
ำหรับระดับ K-9 (ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น)
ไปใช้สอนอย่างจริงจัง แต่เนื่องจากหลักสูตรของ Adobe ต้องสอน
72 ชั่วโมง แต่ผู้เขียนได้สอนจริง ๆ สัปดาห์ละ 2 คาบเท่านั้น
(ประมาณครึ่งหนึ่งของเวลาตามหลักสูตรของ Adobe) ผู้เขียน
จึงหยิบเอาเฉพาะเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับ Digital Imaging ไปสอน
ตามที่หลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการได้ก�
ำหนดมา แล้วผู้เขียน
ได้พบว่า หลักสูตรที่ทางโรงเรียนได้น�
ำมาสอนนั้นมีหนังสือ
คู่มือการเรียนที่ไม่สอดคล้องกับความรู้พื้นฐานของนักเรียน
หนังสือเรียนประกอบมีเนื้อหาเพ้อฝันมากเกินไป ไม่อยู่บน
พื้นฐานของการให้นักเรียนได้เข้าใจในเรื่อง Digital Imaging
แต่กลับเอาวิธีการเฉพาะแบบมืออาชีพมาสอน ซึ่งความล้มเหลว
ของการเรียนการสอนแบบนี้เกิดขึ้นได้เสมอ เนื่องจากเนื้อหาของ
หลักสูตรไม่เปิดโอกาสให้นักเรียนที่ไม่เชี่ยวชาญงานศิลปะได้
ท�
ำการปรับตัวเลย แต่เป็นการยัดเยียดเนื้อหาที่ควรจะน�
ำไปสอน
ในระดับวิชาชีพมาให้นักเรียนที่อนาคตอาจจะเป็นนักบัญชี
แพทย์ นักกฎหมาย ก็ได้ ท�
ำให้การเรียนการสอนไม่สนุก เด็กไม่มี
ส่วนร่วมในการแสดงความคิด เพราะคิดว่าตัวเองไม่ถนัด โดย
เฉพาะการเรียนที่ไม่มีโอกาสได้ฝึกฝนฝีมือ ได้เรียนในห้องเรียน
เพียงแค่สัปดาห์ละ 2 คาบ เมื่อกลับบ้านก็ไม่รู้จะฝึกมือที่ไหน
ไม่มีคอมพิวเตอร์ ไม่มีซอฟต์แวร์ แล้วอย่างนี้จะให้เด็กที่เรียน
สามารถท�
ำงานตามต�
ำราที่ก�
ำหนดให้ได้อย่างไร