Previous Page  43 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 43 / 62 Next Page
Page Background

43

ปีที่ 43 ฉบับที่ 194 พฤษภาคม - มิถุนายน 2558 ี

ที่ ั

บี่ ิ

ถุน

มีหลักฐาน หรือ งานวิจัย สนับสนุนแนวทางการ

“สอนก่อน แล้วค่อยท�

ำข้อสอบ” หรือไม่

แนวทางการ “สอนก่อน แล้วค่อยท�

ำข้อสอบ”

มีลักษณะส�

ำคัญอะไรบ้าง

โดยสรุปการ “สอนก่อน แล้วค่อยท�

ำข้อสอบ” คือการน�

แนวปฏิบัติที่มีงานวิจัยรองรับ และ มีการพิสูจน์มาแล้วว่า น�

ำไปใช้

แล้วส่งผลเชิงบวกกับนักเรียน ทั้งคะแนนการสอบ พฤติกรรม ฯลฯ

ซึ่งมีลักษณะส�

ำคัญ 7 ลักษณะ ดังต่อไปนี้

1.ครูมีการประเมินความรู้เดิมของนักเรียน ให้ความส�

ำคัญ

กับความรู้ เดิมของนักเรียนในการน�

ำมาวางแผนการเรียน

การสอน และมีการประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนในด้านต่าง ๆ

ระหว่างการเรียน (formative assessment) ด้วยวิธีที่หลากหลาย

พร้อมสะท้อนผลการประเมิน (feedback) ให้นักเรียนได้ทราบ

เป็นระยะ ๆ ตามเวลาที่เหมาะสม ตลอดช่วงระยะเวลาการสอน

2.ครูเป็นผู้อ�

ำนวยการเรียนรู้ (facilitator) ของนักเรียน

คอยตั้งค�

ำถามที่สร้างประเด็นให้นักเรียนเกิดความสนใจ ต้องการ

มีส่วนร่วมในการอภิปรายและหาค�

ำตอบ และใช้ค�

ำถามที่กระตุ้น

การพัฒนาการคิดขั้นสูง (higher-order thinking) กับนักเรียน

ตลอดช่วงการเรียนรู้

3.นักเรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ เป็นผู้ค้นพบความรู้

ด้วยตนเอง มีความรู้สึกเป็นเจ้าของของสิ่งที่ได้เรียนรู้ ยกตัวอย่าง

เช่น ในวิชาวิทยาศาสตร์ จะใช้แนวทางของกระบวนการสืบเสาะ

หาความรู้ (inquiry)

4.นักเรียนได้ฝึกฝนการน�

ำความรู้และทักษะที่ได้เรียนรู้ไปใช้

แก้ปัญหาที่ท้าทาย เกี่ยวข้องกับชีวิตประจ�

ำวัน และมีลักษณะ

เหมือนสถานการณ์ในชีวิตจริง (authentic) โดยมีการบูรณาการ

ร่วมกับความรู้และทักษะในสาขาวิชาอื่น ๆ

5.ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้สะท้อนสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วย

วิธีการที่หลากหลาย เช่น การน�

ำเสนอ การวาดผังมโนทัศน์การเขียน

ในใบกิจกรรม และให้นักเรียนได้มีโอกาสวิพากษ์วิจารณ์ สิ่งที่ได้

เรียนรู้ แนวคิดของตนเอง และแนวคิดของเพื่อนร่วมชั้น ผ่าน

การถาม-ตอบ และ การอภิปรายในชั้นเรียน

6.นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมกับการเรียนรู้ ไม่มีการเน้น

ตัดสินผล แพ้ ชนะ เพื่อมอบรางวัล หรือคัดเลือก ที่สร้าง

บรรยากาศของความวิตกกังวล หรือ เกรงกลัวในการท�

ำผิดพลาด

(non-threatening environment)

7 . ค รู ใ ห้ นั ก เ รี ย น ท�

ำ แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง ก า ร เ รี ย น

เพื่อประเมินความเข้าใจในสิ่งที่ได้เรียนรู้ทั้งหมด (summative

assessment) และฝึกฝนการท�

ำข้อสอบที่มีลักษณะเหมือน

ข้อสอบในแบบทดสอบมาตรฐาน ก่อนจะมีการวิเคราะห์และ

อภิปรายร่วมกัน เกี่ยวกับข้อสอบแต่ละข้อ หลังจากที่นักเรียนได้

ท�

ำข้อสอบเสร็จ

การ “สอนก่อน แล้วค่อยท�

ำข้อสอบ” ไม่ใช่เป็นการสอนเพื่อ

เน้นการท�

ำคะแนนสอบได้ดี แต่เป็นการสอนเพื่อความเข้าใจที่

ลึกซึ้ง เพื่อการเรียนรู้ที่มีความหมาย เพื่อการเรียนรู้ว่าตนเอง

เรียนรู้อย่างไร เพื่อส่งเสริมศักยภาพของทักษะการคิด เพื่อสร้าง

เสริมทักษะการน�

ำความรู้ไปใช้ ฯลฯ ก่อนจะมีการให้นักเรียน

ฝึกฝนท�

ำข้อสอบ ซึ่งได้มีตัวอย่างและงานวิจัยหลายงานวิจัยได้

พบว่า การสอนด้วยแนวทางดังกล่าว ช่วยให้นักเรียนท�

ำคะแนน

การสอบของแบบทดสอบมาตรฐานได้ดีด้วยในที่นี้ จะขอน�

เสนองานวิจัย 2 งานวิจัย ดังต่อไปนี้

- งานวิจัยของทีมนักวิจัยจาก University of Iowa

(Taylor, Therrien, Kaldenberg, Watt, Chanlen & Hand,

2012; Chanlen, 2013) ได้ท�

ำการศึกษาผลคะแนนการสอบ

มาตรฐานของนักเรียนที่เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ด้วยแนวทางการสอน

ที่เรียกว่า Science Writing Heuristic (SWH) ซึ่งเป็นแนวทาง

ก า ร สอนที่ เ น้ นก า รอภิปร า ย โ ต้ แย้ ง ( a r g umen t )

ภายใต้บริบทการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ (inquiry) และเน้น

การส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักตั้งค�

ำถาม (question) สร้างค�

ำอธิบาย

เพื่อตอบค�

ำถาม (claim) หาหลักฐานมาสนับสนุน (evidence)

และได้สะท้อนความเข้าใจด้วยการเขียน โดยผลการวิจัยได้

พบว่า กลุ่มนักเรียนที่เรียนรู้ด้วยวิธีการ SWH สามารถท�

ำคะแนน

การสอบแบบทดสอบมาตรฐานได้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยกลุ่มที่

ได้เรียนรู้ด้วยแนวทาง SWH ตั้งแต่ระดับประถมสามารถท�

คะแนนสอบได้ดีกว่ากลุ่มที่เริ่มเรียนรู้ด้วยแนวทาง SWH ในระดับ

มัธยมปลาย นอกจากนี้ งานวิจัยยังพบว่า นักเรียนที่มีพื้นฐาน

ไม่ดี สามารถท�

ำคะแนนการสอบเพิ่มขึ้นได้มาก ซึ่งช่วยลด

ช่องว่างของผลสัมฤทธิ์ (achievement gap) ได้เป็นอย่างดี

- ในช่วงทศวรรษที่ 1990 ทีมนักวิจัยด้านการศึกษาของ

University of Chicago: Chicago Consortium on School

Research (Newmann,Bryk & Nagaoka,2001) ได้ท�

ำการวิจัย

เพื่อตอบค�

ำถามที่ว่า “ผลคะแนนจากการสอบแบบทดสอบ

มาตรฐานของนักเรียนจะเป็นอย่างไร ถ้าครูมอบหมายงานที่ต้องใช้

ความคิดขั้นสูง (higher-order thinking) และเน้นการสื่อสาร

สิ่งที่ได้เรียนรู้หลากหลายรูปแบบ” ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่

ได้เรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์จากกิจกรรมที่มีแนวทางดังกล่าวใน

ชั้นเรียน สามารถท�

ำคะแนนในการสอบแบบทดสอบมาตรฐาน

ได้มากกว่าคะแนนเฉลี่ย (ของนักเรียนทั้งประเทศ) 20 เปอร์เซ็นต์

ในขณะที่นักเรียนที่มีโอกาสเรียนรู้จากกิจกรรมดังกล่าวบ้างเป็น

บางครั้ง ท�

ำคะแนนได้ต�่

ำกว่าคะแนนเฉลี่ย