

นิตยสาร สสวท.
40ิ
ต
รักษพล ธนานุวงศ์
นักวิชาการ สาขาฟิสิกส์ สสวท. / e-mail:
rthan@ipst.ac.thในที่นี้ ผู้เขียนขอเสนอทางเลือก ที่อาจช่วยให้ครู
และผู้ที่มีส่ วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาได้
พิจารณา เลือกไปใช้ในชั้นเรียนเพื่อแก้ปัญหาคะแนน
ในการสอบมาตรฐานของนักเรียน โดยไม่ต้องแลก
ด้ วยเวลาในชั้นเรียนที่มีคุณค่ า นั่นคือแนวทาง
การ “สอนก่อน แล้วค่อยท�
ำข้อสอบ”
“It doesn’t matter what we cover, it matters what you discover.”
Victor Weisskopf, Former Professor of Physics at MIT and CERN Director General (1961- 1966)
ในยุคสมัย
ที่คะแนนจากการสอบของนักเรียนในการท�
ำ
แบบทดสอบมาตรฐาน เช่น O-NET PAT GAT หรือ PISA เป็นตัวชี้วัด
ส�
ำคัญกับการประเมินคุณภาพของครู ผู้บริหารโรงเรียน และ หน่วยงาน
ด้านการศึกษาต่าง ๆ แนวทางปฏิบัติที่อาจเกิดขึ้นในชั้นเรียน คือ
การจัดการสอนแบบบรรยายเพื่อพยายามครอบคลุมเนื้อหาที่จะมี
ในข้อสอบให้ครบ แล้วฝึกฝนให้นักเรียนท�
ำข้อสอบ หรือ ที่เรียกด้วยค�
ำ
และวลีสั้น ๆ ว่าการ “ติวเข้ม” หรือ “สอนเพื่อท�
ำข้อสอบ” ซึ่งผลลัพธ์
ที่ได้ อาจจะเป็นที่น่าพอใจของทุกฝ่ายในระยะสั้น แต่เมื่อวิเคราะห์ถึง
ผลที่จะเกิดขึ้นในระยะยาว และ สมรรถนะของก�
ำลังคนที่เป็นที่ต้องการ
ในสภาพเศรษฐกิจปัจจุบันและอนาคต แนวทางดังกล่าวอาจเป็น
วิธีการที่ไม่สอดคล้องกัน
สอนเพื่อท�
ำข้อสอบ
หรือ
สอนก่อน
แล้วค่อยท�
ำข้อสอบ