Previous Page  36 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 36 / 62 Next Page
Page Background

นิตยสาร สสวท.

36

ตามที่ผู

เขียนได

เกริ่นไว

ในตอนต

นว

า หลายงานวิจัยบ

งชี้ว่า

การบ

านนั้นมีประโยชน

ดังเช

น Harris Cooper ซึ่งเป

ผู

คร�่

ำหวอดในงานวิจัยเกี่ยวกับการบ

าน ได

นําเสนอถึง

ประโยชน

ของการบ

าน 3 ข

อหลัก ได

แก

1) ประโยชน

วิชาการใน

ระยะยาว เช

น ทําให

เกิดนิสัยและทักษะในการเรียนที่ดีขึ้น

2) ประโยชน

ที่ไม

ใช

วิชาการ เช

น ทําให

นักเรียนรู

จักตนเอง มี

ระเบียบวินัยในตนเอง เกิดแนวคิดในการแก

ป

ญหา และเรียนรู

การ

จัดการเกี่ยวกับเวลา และ 3) ทําให

ผู

ปกครองได

มีส

วนร

วมกับการ

เรียนการสอนในโรงเรียน (Carr, 2013) แต

ทั้งนี้ การบ

านจะเป

ประโยชน

และส

งเสริมการเรียนรู

ของนักเรียนได

ดีก็ต

อเมื่อเป

การบ

านที่ครูออกแบบและมอบหมายงานให

นักเรียนอย

างเหมาะสม

โดยคํานึงถึงจุดประสงค

ของการให

การบ

านปริมาณงานที่มอบหมาย

รวมทั้งความสามารถและช

วงวัยของนักเรียน นอกจากนี้

สิ่งสําคัญเช

นเดียวกับที่กล

าวไว

ใน PISA in Focus คือครูต

อง

ระลึกเสมอว

นักเรียนแต

ละคนมีความไม

เท

าเทียมกันทั้งความ

สามารถและภูมิหลังของครอบครัว

ดังนั้น ก

อนให

การบ

าน

ครูจึงต

องคิดในอีกมุมหนึ่งด

วยว

า นักเรียนจะสามารถทํางานที่

มอบหมายให

ส�

ำเร็จภายใต

สิ่งแวดล

อมที่บ

านของพวกเขาได

หรือ

ไม

และหากคําตอบคือ “ไม

” แล

ว ครูจะมีส

วนช

วยเหลือนักเรียน

ต

อไปอย

างไรเพื่อให

พวกเขาเกิดความเท

าเทียมกันในการเรียนรู

ผ

านการทําการบ

าน เป

นสิ่งที่น่าคิดและท

าทายมากทีเดียว

ฝากไว

ให

ผู

อ

าน

Nicole Schrat Carr. (2013). Increasing the Effectiveness of Homework for All Learners in the Inclusive Class

room.

School Community Journal. 23,

1. 169-182.

OECD. (2013).

PISA 2012 Results: Excellence through Equity: Giving Every Student the Chance to Succeed

(Volumn II).

PISA. OECD Publishing, Paris .

OECD. (2014). Does homework perpetuate inequities in education.

PISA in Focus. 46

, 1-3.

PISA in Fous. สืบค้นเมื่อ 1 เมษายน 2558, จาก

www.oecd-ilibrary.org/education/Pisa-in-focus_22260919.

บรรณานุกรม

PISA in Focus ต

องการสื่อสารถึงบทบาทของการบ

านที่มี

ส

วนช

วยในการเรียนรู

ของนักเรียน อย

างไรก็ตามการบ

านอาจมี

ผลต

อความเสมอภาคทางการศึกษาซึ่งส

งผลต

อผลสัมฤทธิ์ของ

นักเรียนได

ทั้งโรงเรียนและครูจึงควรหาแนวทางที่ช

วยแก

ป

ญหา

และส

งเสริมให

นักเรียนกลุ

มที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมต�่

สามารถทําการบ

านหรืองานที่ครูมอบหมายได

อย

างเต็มที่และมี

ประสิทธิภาพ เช

น ช

วยจัดหาสถานที่ อุปกรณ

และสิ่งอํานวย

ความสะดวกต

าง ๆ ในการทําการบ

าน หรือหาแนวทางให้

ผู

ปกครองได

มีส

วนช

วยกระตุ

นนักเรียนให

ทําการบ

าน

และ ทั้งหมดนี้คือแง

มุมที่น

าสนใจเกี่ยวกับการบ

านจาก

PISA in Focus ฉบับนี้

หมายเหตุ :

1) แถบกราฟสีเข

มแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงมีนัยสําคัญทางสถิติ

2) ลําดับของประเทศ/เขตเศรษฐกิจถูกเรียงลําดับจากข

อมูล

การเปลี่ยนแปลงคะแนนคณิตศาสตร

ของนักเรียนจากน

อยไป

มาก เมื่อเวลาที่ใช

ในการทําการบ

านเพิ่มขึ้น 1 ชั่วโมง

ภาพ 3 กราฟแสดงผลการวิเคราะห

การใช

เวลาในการทําการบ

านที่ส

งผลต

คะแนนคณิตศาสตร

โดยใช

multilevel regression ทั้งนี้ การวิเคราะห

ความสัมพันธ์

ดั

งกล

าวได

นําตัวแปรด

านสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม ภูมิหลังของนักเรียน และ

ลักษณะของโรงเรียน มาวิเคราะห

ข

อมูลร

วมด

วย

การเปลี่ยนแปลงคะแนนคณิตศาสตร

(คะแนนของ PISA)

ที่สัมพันธ

กับการใช

เวลาที่เพิ่มขึ้นในการทําการบ

าน