Previous Page  35 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 35 / 62 Next Page
Page Background

35

ปีที่ 43 ฉบับที่ 194 พฤษภาคม - มิถุนายน 2558

จ�

ำนวนชั่วโมงโดยเฉลี่ยต่อสัปดาห์ที่ใช้ในการท�

ำการบ้าน

ของ:

นักเรียนที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมต�่

นักเรียนทั้งหมด

นักเรียนที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมสูง

สถานะทางเศรษฐกิจและสังคมของนักเรียนมีความ

เกี่ยวข้องกับเวลาที่ใช้ในการท�

ำการบ้าน

ผลการประเมินพบว่า ในทุกประเทศ/เขตเศรษฐกิจที่

เข้าร่วม PISA 2012 นักเรียนที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม

สูงจะใช้เวลาโดยเฉลี่ยในการท�

ำการบ้านมากกว่านักเรียนที่มี

เวลาที่นักเรียนใช

ในการทําการบ

านมีความสัมพันธ

กับผลการประเมินของนักเรียน

เมื่อเปรียบเทียบระหว

าง

นักเรียนที่มีภูมิหลังทางเศรษฐกิจ และสังคมที่เหมือนกัน และ

อยู

ในโรงเรียนที่ได

รับการจัดสรรทรัพยากรเท

า ๆ กันแล

โดย

ส

วนใหญ

พบว

า จํานวนเวลาที่นักเรียนใช

ในการทําการบ

านมี

ความสัมพันธ

กับ ผลการประเมิน PISA โดยนักเรียนที่ใช

เวลาใน

การทําการบ

านมากกว

า มีแนวโน

มในการทําคะแนนข

อสอบ

คณิตศาสตร

ของ PISA ได

มากกว

านักเรียนที่ใช

เวลาในการทํา

การบ

านน

อย (ดังภาพ 3) ทั้งนี้ ในประเทศญี่ปุ

น สิงคโปร

มาเก

า-จีน และ ฮ

องกง-จีน จะยิ่งเห็นการเปลี่ยนแปลงของ

คะแนนถึง 17 คะแนน หรือมากกว

านั้น เมื่อมีการใช

เวลาในการ

ทําการบ

านเพิ่มขึ้น 1 ชั่วโมง สําหรับประเทศไทย พบว

า คะแนน

คณิตศาสตร

จะเปลี่ยนแปลง 1.5 คะแนน เมื่อใช

เวลาในการ

ทําการบ

านเพิ่มขึ้น 1 ชั่วโมง แต

การเปลี่ยนแปลงนี้ไม

มีนัยสําคัญ

ทางสถิติ

สถานะทางเศรษฐกิจและสังคมต�่

ำ เป็นเวลา 1.6 ชั่วโมงต่อ

สัปดาห์ (ดังภาพ 2) โดยนักเรียนที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและ

สังคมสูงจะใช้เวลาโดยเฉลี่ย 5.7 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ในขณะที่

นักเรียนที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมต�่

ำจะใช้เวลาโดย

เฉลี่ย 4.1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ความแตกต่างของการใช้เวลาใน

การท�

ำการบ้านของนักเรียนทั้งสองกลุ่มในบางประเทศมีค่ามาก

ถึง 3.5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือมากกว่านั้น เช่น ในประเทศอิตาลี

บัลแกเรีย เซี่ยงไฮ้-จีน และจีนไทเป ส�

ำหรับประเทศไทย นักเรียน

ทั้งสองกลุ่มใช้เวลาในการท�

ำการบ้านแตกต่างกันอย่างมีนัย

ส�

ำคัญ 2.2 ชั่วโมง โดยประมาณ ทั้งนี้ ความแตกต่างของเวลา

ที่ใช้ในการท�

ำการบ้านยังแตกต่างกันไปตามบริบทของระบบ

โรงเรียนและประเภทโรงเรียนอีกด้ วย ซึ่งเป็ นไปได้ ว่ า

ความแตกต่างของนักเรียนทั้งสองกลุ่มมาจากการที่นักเรียนที่มี

สถานะทางเศรษฐกิจและสังคมสูงนั้นค่อนข้างมีความพร้อมด้าน

สถานที่ที่ใช้ในการเรียน การท�

ำการบ้านหรืองานที่ครูมอบหมาย

ที่บ้าน หรือการมีผู้ปกครองที่คอยถ่ายทอดความคิดเชิงบวก

เกี่ยวกับการท�

ำการบ้านหรืองานที่ครูมอบหมายให้

หมายเหตุ :

( * ) แสดงถึงประเทศ/เขตเศรษฐกิจที่มีความแตกต่างใน

การใช้เวลาโดยเฉลี่ยในการท�

ำการบ้านระหว่างนักเรียนทั้งสอง

กลุ่มอย่างมีนัยส�

ำคัญ

ภาพ 2 กราฟแสดงข้อมูลความแตกต่างของการใช้เวลาโดยเฉลี่ยในการท�

การบ้านระหว่างกลุ่มนักเรียนที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมสูง และกลุ่มนักเรียน

ที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมต�่

จ�

ำนวนชั่วโมงโดยเฉลี่ยต่อสัปดาห์