

31
ปีที่ 43 ฉบับที่ 194 พฤษภาคม - มิถุนายน 2558
ในช่วงเทศกาลปีใหม่
ของแต่ละปี หลายหน่วยงานมีการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่หลากหลาย บางหน่วยงานมีพิธีทางศาสนา
หรือกิจกรรมบ�
ำเพ็ญประโยชน์ แต่ที่ดูเหมือนจะขาดไม่ได้ คงจะเป็นกิจกรรมงานเลี้ยงสังสรรค์ ซึ่งภายในงานก็จะมีการ
“จับสลากของขวัญ” เพื่อหาผู้โชคดีต้อนรับปีใหม่
รูปแบบการ “จับสลากของขวัญ” บางหน่วยงานจะแจกของขวัญชิ้นเล็กและชิ้นใหญ่สลับกันไป โดยของขวัญชิ้นใหญ่
ที่สุดจะถูกจับเป็นรางวัลสุดท้าย เพราะอาจมีจุดประสงค์ว่า ต้องการให้สมาชิกทุกคนในหน่วยงานได้อยู่ร่วมสนุก และร่วมลุ้น
รางวัลใหญ่ไปด้วยกันจนกว่างานเลี้ยงจะเลิก
ในปีนี้ ผู้เขียนเองได้มีโอกาสเป็นส่วนหนึ่งของคณะท�
ำงานในการจัดงานเลี้ยงสังสรรค์ที่มีการ “จับสลากของขวัญ”
ซึ่งระหว่างที่ด�
ำเนินกิจกรรมนี้อยู่ ผู้เขียนก็สงสัยว่า การ “จับสลากของขวัญ” โดยการแจกของขวัญชิ้นเล็ก ๆ ก่อน แล้วน�
ำ
ของขวัญชิ้นที่ใหญ่ที่สุดเป็นรางวัลสุดท้ายนั้น ยุติธรรมส�
ำหรับผู้มาร่วมงานทุกคนแล้วหรือไม่
ดนิตา ชื่นอารมณ์
นักวิชาการ สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษาตอนต้น สสวท. / e-mail:
dchun@ipst.ac.thคณิตศาสตร์
กับการจับสลากของขวัญอย่างยุติธรรม