Previous Page  27 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 27 / 62 Next Page
Page Background

การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ท�

ำได้หลายวิธี ปัญหาใดจะแก้ด้วยวิธีใดขึ้นอยู่กับลักษณะของโจทย์ปัญหา และขึ้นอยู่กับ

ความชอบความถนัดของผู้แก้ปัญหาด้วย ส�

ำหรับผู้เรียนที่เป็นเด็กไทยคงขึ้นอยู่กับผู้สอนด้วย ผู้สอนสอนอย่างไร ผู้เรียนก็

มักยึดติดท�

ำตามไปแบบที่สอนนั้นด้วย อย่างที่เห็นกันอยู่ วิธีการแก้โจทย์ปัญหาที่ได้ผลวิธีหนึ่งคือการเขียนรูป อ่านโจทย์ ไป

เขียนรูปไป ท�

ำความเข้าใจไปด้วย รูปช่วยให้การคิดตามข้อความในโจทย์ปัญหาท�

ำได้ง่าย น่าจะสอดคล้องกับการท�

ำงาน

ของสมอง วิธีการเขียนรูปเป็นวิธีที่ครูคณิตศาสตร์ โดยเฉพาะครูในระดับประถมศึกษาทุกคนในประเทศสิงคโปร์ ต้องรู้

ต้องเข้าใจ ต้องคุ้นเคยและช�

ำนาญ ด้วยว่าผลการสอบประเมินระดับนานาชาติ เปรียบเทียบความสามารถของผู้เรียนในการ

แก้ปัญหาคณิตศาสตร์ นักเรียนสิงคโปร์ท�

ำได้ดีมากในระดับต้น ๆ ของโลก วิธีการนี้ในสิงคโปร์เรียกว่า บาร์โมเดล (Bar Model)

จึงน่าสนใจว่าวิธีการนี้ เป็นอย่างไร

พิจารณาโจทย

ป

ญหาต

อไปนี้

การสอนแก้โจทย์ปัญหา

โดยใช้

บาร์โมเดล (Bar Model)

ปกติแล 

ว ผู 

สอนควรจัดประสบการณ

ให 

ผู 

เรียนไต 

ขั้นของการ เรียนรู 

จากของจริงไปเป 

นตัวนับที่จับต 

องได 

(concrete) แทนของจริงแล

วเปลี่ยนไปสู

ตัวแทนที่เป

นรูปในกระดาษ (pictorial) และปรับไปถึงขั้นนามธรรมที่ทิ้งเค

าเดิมของจริง

ไปในที่สุด (abstract) ลําดับขั้น concrete pictorial abstract เป

นดังนี้

ผู้สอนใช้แอปเปิลจริงเป็นตัวนับตามโจทย์แต่เมื่อผู้เรียน

อายุมากขึ้นและเริ่มคุ้นเคย ผู้สอนค่อย ๆ เปลี่ยนและใช้

สื่อตัวนับที่จับต้องได้ (concrete) แทน

เอมีแอปเปิล 2 ผล บีมีแอปเปิล 5 ผล เอและบีมีแอปเปิลรวมกันกี่ผล

เอ

บี

สุรัชน์ อินทสังข์

สาขาคณิตศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�

ำแหง

27

ปีที่ 43 ฉบับที่ 194 พฤษภาคม - มิถุนายน 2558