

นิตยสาร สสวท.
22ิ
ต
กลุ่มดาวแมงป่อง
กลุ่มดาวคันชั่ง
กลุ่มดาวผู้หญิงสาว
กลุ่มดาวสิงโต
กลุ่มดาวปู
กลุ่มดาวคนคู่
กลุ่มดาววัว
กลุ่มดาวแกะ
กลุ่มดาวปลา
กลุ่มดาว
คนแบกหม้อน�้
ำ
กลุ่มดาวมังกร
กลุ่มดาวคนยิงธนู
21 มิ.ย.
21 มี.ค.
23 ก.ย.
22 ธ.ค.
นิพนธ์ ทรายเพชร
ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ สสวท./ ราชบัณฑิต ส�
ำนักวิทยาศาสตร์ ประเภทวิทยาศาสตร์กายภาพ สาขาวิชาดาราศาสตร์
โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์โดยดูจากเหนือขั้วโลกเหนือ ซึ่งแสดงโดยจุด ช่วงปลาย
เดือน (ประมาณวันที่ 21 ของเดือน) ดวงอาทิตย์จะปรากฏอยู่ในกลุ่มดาวเดือนนั้น ๆ
(นิพนธ์ ทรายเพชร : มหัศจรรย์มนุษย์กับดวงดาว, หน้า 34)
ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกใช้ดวงจันทร์เป็นเครื่องบอกเวลา บอกฤดูกาล
บอกฤดูเก็บเกี่ยวมาเป็นเวลาช้านาน แต่ละวัฒนธรรมเรียกชื่อดวงจันทร์ต่างกัน
ในยุโรปและอเมริกา จันทร์เพ็ญแต่ละเดือนในรอบปี มีชื่อเรียกไม่เหมือนกัน
ดังต่อไปนี้
1.
จันทร์เพ็ญในเดือนมกราคมมีชื่อว่า ดวงจันทร์สุนัข
จิ้งจอก (Wolf Moon)
(ชื่ออย่างอื่นอีกคือ
ดวงจันทร์ชรา
(Old Moon)
ดวงจันทร์หิมะ
(Snow Moon)
ที่เรียกว่าเป็นดวงจันทร์สุนัขจิ้งจอก เพราะเป็นช่วงเวลาที่
ได้ยินเสียงสุนัขจิ้งจอกเห่าหอนชัดเจนกว่าช่วงอื่น ๆ เนื่องจาก
เสียงสะท้อนจากน�้
ำแข็งที่หนาวเย็น ท�
ำให้เสียงดังก้อง
ในซีกโลกเหนือ เดือนมกราคม อยู่ในช่วงฤดูหนาวมีหิมะ
ขาวโพลน มนุษย์บางเผ่าจึงเรียกว่า ดวงจันทร์หิมะ แต่ส่วนมาก
จะเก็บชื่อนี้ไปเป็นชื่อจันทร์เพ็ญของเดือนกุมภาพันธ์ จันทร์เพ็ญ
ของเดือนมกราคมจะอยู่ในซีกฟ้าเหนือบริเวณกลุ่มดาวปู ซึ่งขึ้น
เวลาหัวค�่
ำทางตะวันออกเฉียงไปทางเหนือประมาณ 20 องศา
ขึ้นไปอยู่สูงสุดบนฟ้าทางทิศใต้ของจุดเหนือศีรษะ เห็นได้ตลอด
ทั้งคืนก่อนตกไปทางตะวันตกเฉียงไปทางเหนือประมาณ 20
องศาในเวลาเช้า ท้องฟ้าในคืนวันดวงจันทร์สุนัขจิ้งจอกจะสว่าง
มากตลอดทั้งคืน เพราะการสะท้อนแสงของจันทร์สุนัขจิ้งจอก
นานาชื่อ
จันทร์เพ็ญ
ในเดือนต่าง ๆ
ของมนุษย์
สแกนโค้ดนี้เพื่อ
ชมภาพเคลื่อนไหว