

นิตยสาร สสวท.
44ิ
ต
บทสรุป
บรรณานุกรม
ในโลกปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้คนทั่วโลก
มีการเชื่อมต่อถึงกัน และ สามารถเข้าถึงข้อมูลปริมาณมหาศาล
ได้อย่างง่ายดาย ปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบันจึงมีความซับซ้อน ไม่มี
ค�
ำตอบเดียวที่แน่นอน และ เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา สมรรถนะ
ที่จะน�
ำมาใช้แก้ปัญหาและเผชิญกับความท้าทายในการด�
ำรงชีวิต
และการท�
ำงาน จึงเป็นสมรรถนะที่ต่างจากโลกในยุคที่เน้น
การผลิตแบบอุตสาหกรรม แนวทางการสอนที่มุ่งเน้นครอบคลุม
เนื้อหาให้ได้มากด้วยวิธีการถ่ายทอดจากผู้สอนเพื่อการน�
ำ
ไปฝึกฝนในการท�
ำข้อสอบที่มีค�
ำตอบเพียงข้อเดียว เปรียบเสมือน
การผลิตคนในลักษณะสายพานในโรงงาน ที่อาจสามารถเพิ่ม
คะแนนการสอบได้ ในระยะสั้น แต่อาจสร้ างนักเรียนที่มี
ความรู้มาก แต่รู้เพียงผิวเผิน และอาจไม่สามารถน�
ำสิ่งที่ได้เรียน
รู้ไปใช้ในชีวิตจริงในโลกปัจจุบันได้
การสอนด้วยแนวปฏิบัติที่ดีตาม 7 ลักษณะที่กล่าวไว้ข้างต้น
ก่อน แล้วจึงให้นักเรียนท�
ำข้อสอบ เป็นแนวทางหนึ่งที่ผู้เขียน
ได้น�
ำเสนอให้กับครูและผู้เกี่ยวข้องได้พิจารณา ส�
ำหรับการน�
ำ
ไปใช้แก้ปัญหาผลคะแนนการสอบแบบทดสอบมาตรฐานของ
นักเรียน พร้อมทั้งส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพ คุณลักษณะ
และ สมรรถนะที่ส�
ำคัญ ที่สอดคล้องกับโลกการท�
ำงานในปัจจุบัน
และอนาคตอันใกล้ ทั้งนี้ ผู้เขียนเองไม่สนับสนุนแนวคิดที่ให้
น�
ำแนวทางดังกล่าวไปใช้สอนในทุกหัวข้อ ทุกเนื้อหา หรือ
ทุกวิชา เพราะเชื่อว่า วิธีที่ดีที่สุดคือการผสมผสานแนวทาง
การสอนที่หลากหลายเข้าด้วยกัน ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ บริบท
ของชั้นเรียน โรงเรียน และปัจจัยอื่น ๆ ที่ครูต้องใช้วิจารณญาณ
ในการเลือกสรรแนวทางที่เหมาะสมที่สุดกับนักเรียนในชั้นเรียน
ของตน เพื่อที่ว่า นักเรียนที่จะเติบโตขึ้นมาวันข้างหน้า จะไม่เพียง
แต่เป็นผู้มีความรู้มาก แต่รู้ลึก รู้วิธีการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ได้ด้วย
ตนเอง มีสมรรถนะในการคิดวิเคราะห์ส�
ำหรับกลั่นกรองข้อมูล
ข่าวสารที่มีปริมาณมหาศาล และ สามารถน�
ำความรู้มาแก้ปัญหา
ที่ซับซ้อนในชีวิตจริงได้อย่างสร้างสรรค์ โดยมีส�
ำนึกในหน้าที่ของ
ความเป็นพลเมือง คุณธรรมและจริยธรรม เป็นเข็มทิศน�
ำทาง
Bransford, J., Brown, A. & Cocking, R. (Eds). (2000).
How people learn: Brain, mind, experience,
and school.
Washington, DC: National Research
council.
Chanlen, N. (2013). Longitudinal analysis of stan
dardized test scores of students in the science
writing heuristic approach (Doctoral dissertation).
Retrieved April 20, 2015, from Iowa Research
Online,
http://ir.uiowa.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=4953&context=etd.
Taylor, J. C., Therrien, W. J., Kaldenberg, E., Watt,S.,
Chanlen, N., & Hand, B. (2012). Using an inquiry-
based teaching approach to improve science out
comes for students with disabilities: Snapshop
and longitudinal data.
Jounral of Science Educa
tion for Students with Disabilities,
15
(1), 10-22.
McTighe, J. & Seif, E. (2011). Teaching for Under
standing. Retrieved April 20, 2015, from http://
jaymctighe.com/wordpress/wp-content/uploads/2011/04/Teaching-for-Understanding.pdf.
McTighe, J., Seif, E. & Wiggins, G. (2004). You Can
Teach for Meaning. Educational Leadership.
Retrieved April 18, 2015, from
http://jaymctighe.com/wordpress/wp-content/uploads/2011/04/
You-Can-Teach-for-Meaning.pdf.
Newmann, F., Bryk, A. & Nagaoka, J. (2001).
Authen
tic intellectual work and standardized tests:
Conflictor coexistence?.
Chicago: Consortium on
ChicagoSchool Research.