Table of Contents Table of Contents
Previous Page  51 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 51 / 62 Next Page
Page Background

51

ปีที่ 44 ฉบับที่ 199 มีนาคม-เมษายน 2559

ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมที่จะส่ง

เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีสมบัติเป็นอย่างไร

?

ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมที่สามารถส่งเข้าประกวดได้ต้องเป็นผลงานวิจัยที่ด�

ำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว

และยังไม่เคยน�

ำเสนอหรือส่งเข้าร่วมการประกวดผลงานวิจัยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ในการประชุมวิชาการประจ�

ำปี ของ

สสวท. หรือเคยได้รับรางวัลในการประกวดผลงานวิจัยจากเวทีอื่นๆ นอกเหนือจากเวทีของ สสวท.

ตัวอย่างผลงาน

วิจัยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมที่เคยได้รับรางวัล

ระดับประถมศึกษา

เช่น

• การศึกษาเปรียบเทียบการปรับปรุงคุณภาพดิน

ลูกรัง โดยใช้วัสดุคลุมดินจากธรรมชาติชนิดต่างๆ

เพื่อใช้ในการปลูกฟักทอง บริเวณหมู่บ้านนิคม

บุญนาคพัฒนา อ�

ำเภอเมือง จังหวัดล�

ำปาง โดย

คณะวิจัยจากโรงเรียนอนุบาลล�

ำปาง (เขลางค์รัตน์

อนุสรณ์) จังหวัดล�

ำปาง

ระดับมัธยมศึกษา

เช่น

• การพัฒนาอุปกรณ์เรือนแหวน 2 ส�

ำหรับการขยาย

พันธุ์ปะการังเขากวาง (

Acropora sp

.) แบบย้าย

ปลูก โดยคณะวิจัยจากโรงเรียนพลูตาหลวงวิทยา

จังหวัดชลบุรี

• ศึกษาสมบัติของดินที่มีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว

ข้าวที่แตกต่างกัน โดยคณะวิจัยจากโรงเรียนสิงห์บุรี

จังหวัดสิงห์บุรี

ลักษณะของงานวิจัย

ที่สามารถส่งเข้าร่วมประกวดมีดังนี้

• บูรณาการความรู้วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม หรือ

วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ (Earth System Science)

ร่วมกับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์

โดยเน้นการน�

ำความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง

รวมทั้งการพัฒนากระบวนการ หรือ แนวทาง

หรือ นวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการอนุรักษ์

ทรัพยากรธรรมชาติ หรือแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม

อย่างเป็นระบบ ซึ่งงานวิจัยดังกล่าวจะต้องมี

การตรวจวัดและเก็บข้อมูลวิทยาศาสตร์ หรือ

สิ่งแวดล้อมด้วย

• หรือ

ผลงานวิจัยนั้นเป็นการส�

ำรวจและการแก้

ปัญหาสิ่งแวดล้ อมอย่ างเป็ นระบบที่เกิดขึ้น

ในท้องถิ่น หรือเป็นสิ่งประดิษฐ์ หรือนวัตกรรม

ซึ่งงานวิจัยดังกล่าวต้องมีการตรวจวัดและเก็บ

ข้อมูลทางด้านวิทยาศาสตร์หรือสิ่งแวดล้อมด้วย

• หรือ

ผลงานวิจัยที่มีการใช้หลักวิธีด�

ำเนินการตรวจวัด

ของโครงการ GLOBE (GLOBE Protocol) และ

มีการส่งข้อมูล (GLOBE Data Entry) เข้าเว็บไซต์

โครงการ GLOBE โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติม

ได้ที่

www.globe.gov (

จะได้รับคะแนนพิเศษใน

การพิจารณา)