Table of Contents Table of Contents
Previous Page  52 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 52 / 62 Next Page
Page Background

52

นิตยสาร สสวท

ขั้นตอนและวิธีการเข้าร่วมโครงการฯ

ต้องท�

ำอย่างไร

?

คณะวิจัยที่สนใจเข้าร่วมโครงการฯ ส่งแบบสรุปของ

ผลงานวิจัยความยาวประมาณ 8 – 11 หน้า หรือตามจ�

ำนวน

ที่ สสวท. ก�

ำหนดในรายละเอียด ที่สาขาวิชาวิทยาศาสตร์

การศึกษาภาคบังคับ (โครงการ GLOBE) สสวท. โดย สสวท.

จะคัดเลือกผลงานวิจัยรอบแรก และผลงานที่ผ่านการคัดเลือก

แล้วจะได้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านการน�

ำผลงานวิจัย

ทั้งแบบปากเปล่า และแบบโปสเตอร์ ในการประชุมวิชาการ

“การน�

ำเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ระดับ

โรงเรียน”

ซึ่งจะจัดประมาณปลายเดือนมีนาคมของทุกปี

นักเรียนได้เพิ่มพูนการเรียนรู้นอกเหนือบทเรียนในห้องเรียน

โดยได้ท�

ำงานวิจัย ตรวจวัดข้อมูลวิทยาศาสตร์เพื่อจะได้เรียนรู้และ

เข้าใจความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อมที่เป็นองค์ประกอบของโลก (ดิน น�้

บรรยากาศ สิ่งปกคลุมดิน) ในลักษณะของวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ (Earth

System Science) นักเรียนได้ท�

ำงานร่วมกันเป็นทีมในการเพิ่มทักษะการ

สื่อสารโดยใช้ความคิดระดับสูง (Higher Order of Thinking) มีทัศนคติ

วิทยาศาสตร์ (Scientific Attitude) และใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้

ทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry Process) ในการวิจัยค้นคว้าเกี่ยวกับ

ปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนอย่างเป็นระบบ

และมาตรฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ส�

ำคัญของโครงการคือ การปลูกจิตส�

ำนึก

ให้นักเรียนเกิดความตระหนักในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ส�

ำหรับโรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือกในรอบแรก คณะผู้วิจัยจะ

ได้รับการสนับสนุนค่าที่พัก และค่าอาหารระหว่างการประชุมน�

ำเสนอ

ผลงานวิจัยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ระดับโรงเรียน นอกจากนี้ยังได้รับ

เงินรางวัลส�

ำหรับผลงานวิจัยที่ได้รับคัดเลือก พร้อมโล่และเกียรติบัตร

ส�

ำหรับโรงเรียนที่ได้รับรางวัล โดยแยกพิจารณาผลงานวิจัยระดับประถม

ศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย ส�

ำหรับผลงาน

วิจัยที่ผ่านการคัดเลือกและได้มีการแก้ไขความถูกต้องให้สมบูรณ์แล้ว จะ

ถูกรวบรวมไปเผยแพร่ในเอกสารสรุปผลการด�

ำเนินงานโครงการ GLOBE

ประจ�

ำปี และเว็บไซต์ของ สสวท.

นักเรียนได้อะไร

จากการเข้าร่วมโครงการ

?